บันเทิงชีวิตครู สู่ชุมชนการเรียนรู้ 9786168000137

...
Author: |
82 downloads 109 Views 3MB Size
บันเทิงชีวิตครู สู่ ชุ ม ช น ก า ร เ รี ย น รู é ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

บันเทิงชีวิตครู สำู่ ชุ ม ช น ก า ร เ รี ย น รู ้

ISBN เจ้ าของ ผู้เขียน บรรณาธิการ ออกแบบรูปเล่ม ภาพจากปก พิมพ์โดย โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ จ�านวน พิมพ์ที่ ราคา

978-616-8000-13-7 มูลนิธิสยามกัมมาจล ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช รัตนา กิตกิ ร PINGERE STUDIO สุจิตรา นาคะศิริกลุ บริ ษัท บุญมีฤทธิ์ มีเดีย จ�ากัด มูลนิธิสยามกัมมาจล ๑๙ ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ ๐ ๒๙๓๗ ๙๙๐๑ - ๗ ๐ ๒๙๓๗ ๙๙๐๐ www.scbfoundation.com กันยายน ๒๕๕๙ ๕,๐๐๐ เล่ม บริ ษัท เอส.อาร์ .พริ น้ ติ ้ง แมสโปรดักส์ จ�ากัด ๙๕ บาท



ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช



บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ค�น�มูลนิ¸ิสยามกัมมาจล

หากเป้า หมายการจัด การศึก ษา คื อ การพัฒ นาคน ไม่ใ ช้ ก ารให้ ความรู้ กบั นักเรี ยนเท่านัน้ และการพัฒนาคน คือการพัฒนา ทังการมี ้ ความรู้ ความคิ ด ทัก ษะการท� า งาน การเข้ า สัง คม และ จิ ต ใจ นอกจากพ่ อ แม่ ผู้ปกครองแล้ ว ครู เป็ นบุคคลส�าคัญในการท�างาน ที่ละเอียดอ่อนนี ้ งานพั ฒ นาคน ด้ วยการสร้ างการเรี ย นรู้ เพื่ อ ให้ ลู ก ศิ ษ ย์ พั ฒ นา ความสามารถทัง้ ภายนอก และภายใน ดัง กล่ า วข้ า งต้ น เป็ น งานที่ ห นัก เอาการ แล้ วครูจะแบกรับภาระนี ้ได้ อย่างไร อย่ างมีคุณภาพ และมีความสุข หัวใจคือ ครู ต้องเข้ าใจว่างาน “พัฒนาคน” นัน้ เป้าหมายคือ ศิษย์ต้องเป็ น ผู้ที่ มี ค วามสามารถในการเรี ย นรู้ เอง ครู เ ป็ น เพี ย งผู้ชี แ้ นะ จัด กระบวนการ เพื่อให้ ศิษย์ได้ เดินทางในเส้ นทาง การเรี ยนรู้ ของตนเอง การเรี ยนรู้ ของศิษย์ แต่ละคน จึงไม่เหมือนกัน และไม่เท่ากัน ครูจงึ จ�าเป็ นที่จะต้ องเข้ าใจหลักสูตร และรู้ จกั ศิษย์ของตน เพราะความรู้ และความเข้ าใจทังสองด้ ้ าน เป็ นพื ้นฐาน ส� า คัญ ของการ “ออกแบบการเรี ย นรู้ ” เพื่ อ ให้ ศิ ษ ย์ ได้ พัฒ นาศัก ยภาพ รอบด้ านทังภายใน ้ และภายนอกไปพร้ อมๆ กัน การวัด ผลการเรี ย นรู้ เป็ นอี ก ประเด็ น ที่ น่ า สนใจ เมื่ อ เป้ า หมาย การเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนแต่ละคน ไม่เหมือนกัน และไม่เท่ากัน ครูจะวัดผลอย่างไร ๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ที่ ส ะท้ อนการเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ครู ส ามารถท� ำ หน้ าที่ พัฒ นา การเรี ยนรู้ ของศิษย์ แต่ละคน ให้ พัฒนายกระดับขึน้ ได้ มีค�ำถามมากมาย เกิ ด ขึ น้ ตลอดเส้ น ทางการเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ ที่ ค รู ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ ใครจะให้ ค� ำ ตอบเหล่า นี ?้ ถ้ า จะมี ใ ครที่ น่ า จะเป็ น ผู้แ นะน� ำ ครู ไ ด้ ก็ เ ห็ น จะต้ อ งเป็ น คุ ณ ครู ด้ วยกั น เอง เพราะผู้ ที่ มี ป ระสบการณ์ ก ารจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ ลองผิ ด ถู ก ปรั บ ปรุ ง จนดี ขึ น้ จนเห็ น ผลส� ำ เร็ จ ก็ มี แ ต่ คุ ณ ครู ด้ วยกันเอง หนังสือเล่มนี ้ จึงแนะน� ำให้ คุณครู มีวงเรี ยนรู้ ร่ วมกันเอง ที่เรี ยกว่า Professional Learning Community หรื อเรี ยกย่อๆ ว่า PLC ผู้อ�ำนวย การโรงเรี ยน ที่ใส่ใจในการยกระดับ ความส�ำเร็ จทางการศึกษา จึงควรเป็ น เจ้ าภาพในการสร้ างวงเรี ย นรู้ แบบ PLC แต่ ว ง PLC จะส� ำ เร็ จ หรื อ ไม่ ขึ น้ กั บ ผู้ บริ ห ารจะสามารถกระตุ้ น ให้ ครู กระหายที่ จ ะพัฒ นาตนเองไฝ่ รู้ พัฒนางาน โดยมี ผ้ ูเรี ยนเป็ นเป้าหมายได้ อย่างไร หากเป็ นความต้ องการ ของครู การจัดวงเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ ของครู ด้วยกันจะเป็ นความบันเทิง อย่างยิ่ง การจัดการให้ เกิดบรรยากาศการเรี ยนรู้ ร่วมกันของครู ให้ เกิดความ บัน เทิ ง จึ ง เป็ น ความท้ า ทายอย่ า งยิ่ ง ของผู้บ ริ ห าร ที่ เ รี ย กหาความส� ำ เร็ จ หนังสือเล่มนี ้ จึงอาจมีสว่ นช่วยให้ ครู ผู้อ�ำนวยการ และผู้บริ หารการศึกษา ได้ จุด ประกายความคิด ในการพัฒนางานของตน ด้ วยเป้าหมายเดี ย วกัน คือผู้ที่ได้ ประโยชน์ คือ ผู้เรี ยนนั่นเอง



บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

แม้ ว่าหนังสือเล่มนี ้ จะได้ แนะน�ำแนวทางในการสร้ างวง PCL ของครู และบทบาทของผู้บริ หาร ทัง้ ในโรงเรี ยน และเขตการศึกษาให้ เป็ นวงเรี ยนรู้ พัฒนาครู อย่างเป็ นธรรมชาติก็ตาม แต่ก็เป็ นแนวทางกว้ างๆ ที่เป็ นเสมือน แนวทางที่ แนะน� ำ การน� ำไปประยุกต์ ใช้ ตามบริ บทของโรงเรี ย น และพื น้ ที่ เป็ นเรื่ องที่ส�ำคัญกว่ามาก เพราะถ้ าไม่เริ่ มท�ำ ก็จะไม่เห็นปั ญหา การก้ าวข้ าม ปั ญหาแต่ละขันเป็ ้ นเรื่ องที่สำ� คัญกว่า เพราะในแต่ละขันตอนนี ้ ้ มีบริ บทของครู นักเรี ยน สภาพโรงเรี ยน และผู้อ�ำนวยการแต่ละคน ที่เป็ นเรื่ องเฉพาะของแต่ละ โรงเรี ยน ซึง่ จะมีองค์ความรู้ และเทคนิ ค เฉพาะ ของผู้ บ ริ ห ารแต่ ล ะโรงเรี ย น มู ล นิ ธิ ส ยามกั ม มาจล จึ ง ขอเชิ ญ ชวน ให้ คุ ณ ครู และ ผู้อำ� นวยการ ผู้บริหารการศึกษาทัง้ หลาย ที่เอาหนังสือเล่ มนี ้ ไปปรั บใช้ มีความก้ าวหน้ า ส่ งเรื่ องเล่ าของตนเองกลับมา เราหวังว่ าครั ง้ ต่ อไป ที่จะ ท�ำหนังสือ เราจะมีเรื่ องราวความส�ำเร็จ ของท่ านทัง้ หลาย อยู่ในหนังสือ ในการเป็ นผลงาน เรื่ องราวของโรงเรี ยนไทย ครู ไทย และผู้บริ หาร การศึกษาไทย ที่เป็ นแกนน�ำปฏิรูปการศึกษา จากห้ องเรี ยน และพืน้ ที่ ของเราเอง มูลนิธิสยามกัมมาจล



ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช



บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ค�น�¼ู้เขียน

เป้าหมายของการศึกษา ในยุคศตวรรษที่ ๒๑ คือการสร้ างความเป็ น ผู้น�าการเปลี่ยนแปลงขึน้ ในคนทุกคน ย� ้าค�าว่า “ทุกคน” ซึ่งหมายความว่า ครู ทุกคน ต้ องเป็ นผู้น�าการเปลี่ยนแปลงด้ วย หนังสือเล่มนี ้ คือคู่มือครู ในการท�าหน้ าที่ดงั กล่าว การศึกษา เพื่อสร้ างความเป็ นผู้น�า เรี ยกว่า Transformative Learning โดยเป้ า หมาย คื อ ทุ ก คนมี ทั ก ษะ การเป็ นผู้ น� า การเปลี่ ย นแปลง ที่ เ รี ย กว่ า Change Agent อ่ า นหนัง สื อ เล่ ม ใหม่ ข องผม ในเรื่ อ งนี ไ้ ด้ ที่ https://goo.gl/OlGtnc ครู จึ ง ต้ อ งเป็ น ผู้ น� า การเปลี่ ย นแปลง ในเรื่ อ งการเรี ย นรู้ เปลี่ ย น จากการเรี ยนรู้แห่งศตวรรษที่ ๑๙ และ ๒๐ ไปสูก่ ารเรี ยนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑ หนังสือ บันเทิงชีวติ ครู สู่ชุมชนการเรี ยนรู้ เล่มนี ้คือตัวช่วย ให้ ครูท�าหน้ าที่ ดังกล่าวได้ ส�าเร็ จ โดยที่เป็ นการท�าหน้ าที่อย่างบันเทิงใจ คือมีความสนุกสนาน มีความสุขใจ เพราะได้ บรรลุปิตสิ ขุ เป็ นระยะ ในศตวรรษที่ ๒๑ ครู ต้องเปลี่ยนจาก เน้ นความเป็ น “ผู้สอน” เป็ น เน้ นความเป็ น “ผู้เรี ยนรู้ ” โรงเรี ยนไม่ใช่ที่เรี ยนรู้ เฉพาะของนักเรี ยนอีกต่อไป แต่เป็ นที่เรี ยนรู้ ของครู ด้วย และในความหมายที่กว้ าง ยังเป็ นที่เรี ยนของพ่อแม่ ๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ผู้ป กครองนัก เรี ย น ของคณะกรรมการโรงเรี ย น และของผู้น�ำ ชุม ชน และ ของคนในชุมชนด้ วย เห็ น ได้ ชั ด เจนว่ า ในปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๘ วงการศึ ก ษาไทย ได้ ก้ าวหน้ าขึ น้ ไป อี ก ขั น้ หนึ่ ง คื อ ได้ มี ก ารรวมตั ว กั น ของครู และ ผู้บ ริ ห ารสถาบัน การศึก ษา เพื่ อ สร้ าง “ชุ ม ชนการเรี ย นรู้ ครู เ พื่ อ ศิ ษ ย์ ” (PLC – Professional Learning Community) ขึ น้ ในโรงเรี ย น จ� ำ นวนหนึ่ง ที่ เ ป็ น การสร้ างการเปลี่ ย นแปลง ของการเรี ย นรู้ ในชัน้ เรี ย น จากฐานล่าง (Bottom-Up) เราเห็นภาพนี ช้ ัดเจนมาก จากเวที พูนพลังครู ครัง้ ที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๔ - ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ (https://goo.gl/PjmkDC) การมี ห นั ง สื อ ส� ำ หรั บ เป็ นตั ว ช่ ว ยให้ “คณะผู้ ก่ อ การการเปลี่ ย นแปลง” ในโรงเรี ย น ได้ ใ ช้ เ ป็ น คู่มื อ ด� ำ เนิ น การ PLC จึง น่ า จะมี ป ระโยชน์ ม าก นี่คือ ที่มาของหนังสือเล่มนี ้ หนั ง สื อ บันเทิงชี วิตครู ส่ ู ชุ ม ชนการเรี ย นรู้ เล่มนี ้ รวบรวมจาก บัน ทึ ก ใน บล็ อ ก Gotoknow ชุด บัน เทิ ง ชี วิ ต ครู สู่ชุม ชนการเรี ย นรู้ ซึ่ง ลง เผยแพร่ ระหว่างวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๔ รวม ๑๑ ตอน และเคยน�ำลงตีพิมพ์ในหนังสือ วิถีสร้ างการเรี ยนรู้ เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ ๒๑ (http://goo.gl/BTPwPL) ยกเว้ น ตอนที่ ๖ ที่เขียนใหม่ เนื่องจากในต้ นฉบับเดิมหายไป



บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ข้ อเขียนเหล่านี ้ ได้ จากการตีความ หนังสือ Learning by Doing : A Handbook for Professional Learning Communities at Work (2nd Edition, 2010). เขียนโดย Richard DuFour, Rebecca DuFour, Robert Eaker, Thomas Many โดยที่ ผมตีความสาระของหนังสือเพี ยง บางส่ว นน� ำ ลงบัน ทึก ดัง กล่า ว เน้ น ความกระชับ และสาระส� ำ คัญ ไม่เ น้ น ความครบถ้ วน ท่านที่ อ่านต้ นฉบับจะได้ สาระเพิ่มเติมกว่าในหนังสือเล่มนี ้ มากมาย นอกจากนั น้ ในบั น ทึ ก เหล่ า นี ้ ผมยั ง ได้ สอดแทรกความเห็ น ของตนเองลงไปด้ ว ย และได้ เ ขี ย นตอนที่ ๑๓ เพิ่ ม เข้ า ไป เพื่ อ บอกว่า ใน ช่วงเวลา ๔ ปี หลังการเผยแพร่ สาระในหนังสือเล่มนีส้ ่วนใหญ่ ลงในบล็อก และตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ วิ ถี ส ร้ างการเรี ย นรู้ เพื่ อ ศิ ษ ย์ ในศตวรรษที่ ๒๑ ผมเห็นการน�ำไปประยุกต์ใช้ และเห็นการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบ การเรี ยนรู้ ใน วงการศึกษาไทยอย่างไรบ้ าง เมื่อได้ เข้ าร่ วมเวทีพูนพลังครู ครัง้ ที่ ๑ จัดโดยมูลนิธิสยามกัมมาจล ร่วมกับภาคีเครื อข่ายอีก ๒๒ องค์กร เมื่อวันที่ ๑๔ - ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ผมก็ตระหนักว่าวงการศึกษาไทย ต้ องการหนังสือคู่มือการประยุกต์ใช้ PLC อย่างถูกต้ อง และมี พลังยิ่งขึน้ เพราะมี ความนิ ยมใช้ PLC กันแพร่ หลาย มากขึ น้ เรื่ อ ยๆ แต่ ส่ ว นมากยั ง ด� ำ เนิ น การกั น แบบครึ่ ง ๆ กลางๆ หรื อ เพียงบางส่วน ไม่ได้ ท�ำกันอย่างเป็ นระบบ และท�ำตามหลักการที่ถูกต้ อง ซึ่ง จะท� ำ ให้ ผ้ ูบ ริ ห าร ครู นัก เรี ย น และผู้ป กครองที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เกิ ด ความสุข และเกิดการเรี ยนรู้ ที่ทรงพลังของบุคคลเหล่านัน้ ๑๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

เพื่ อ ให้ วงการศึ ก ษาไทย ได้ รั บ ประโยชน์ จ ากเครื่ องมื อ PLC อย่างแท้ จริ ง จึงได้ ปรับปรุ งต้ นฉบับ และจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี ้ ออกเผยแพร่ โดยสาระส�ำคัญคือ ครู ต้องรวมตัวกันเรี ยนรู้ โดยเน้ นเรี ยนรู้ จากการปฏิบัต ิ (โดยมีเป้าหมาย เพื่อยกระดับผลลัพธ์ การเรี ยนรู้ ของศิษย์) ตามชื่อหนังสือที่ น�ำมาตีความ (Learning by Doing) ตามด้ วยการไตร่ ตรองสะท้ อนคิดอย่ าง มีเป้ าหมาย และมีหลักวิชา ขอขอบคุณ คุณปิ ยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จดั การมูลนิธิสยามกัมมาจล และทีมงาน ที่เห็นคุณค่าของหนังสือเล่มนี ้ ต่อวงการศึกษาไทย และจัดพิมพ์ ออกเผยแพร่อย่างรวดเร็ ว ผมขออุทศิ ความดีที่เกิดจากหนังสือเล่มนี ้บูชา “ครูเพื่อศิษย์ ” ทุกคนใน สังคมไทย ทังที ้ ่เป็ นครูในระบบ และครูนอกระบบ วิจารณ์ พานิช ๒๒ พ.ย. ๕๘

๑๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ค�นิยม

ทุกอย่างเปลี่ยนไปแล้ ว วิ ถี ด� า เนิ น ชี วิ ต ของเด็ ก ๆ ปั จ จุบัน ต่า งกัน อย่ า งสิ น้ เชิ ง กับ วิ ถี ชี วิ ต สมั ย เด็ ก ๆ ของผู้ ที่ ก� า ลัง เป็ นครู แต่ ค รู ส่ ว นใหญ่ ก็ ยั ง จดจ� า และตราตรึ ง กับความส�าเร็ จจากในอดีต นึกหวังว่าความส�าเร็ จแบบเดิมนัน้ จะเกิดขึน้ ซ�า้ ได้ อีก ด้ วยวิธีการแบบเดิม เช่ น ต้ องท่ องต�ารา นั่งหน้ ากระดาน ต้ อง ฟั งครู สอน สภาพที่เป็ นอยูป่ ั จจุบนั จึงเป็ นคล้ ายดัง่ ว่า ครู กับเด็ก อยูก่ นั คนละฟาก ของก� า แพงสูง ครู ม องไปข้ า งหลัง เห็ น เส้ น ทางในอดี ต เห็ น โลกแบบเดิ ม ส่ ว นเด็ ก ๆ อยู่ ใ นโลกแบบใหม่ แ ล้ ว โลกแห่ ง ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ โลกแห่ ง การเชื่ อ มต่อ โลกที่ แ บนราบ โลกที่ ต้ อ งการการตอบสนองแบบใหม่ ที่ ต่า ง จากเดิมอย่างสิ ้นเชิง “ช่ างน่ าหวาดหวั่นหากจะตัง้ ค�าถามที่ว่า แล้ วคนที่อยู่ หลังก�าแพงจะสอน หรื อสร้ างการเรี ยนรู้ ให้ กับคนที่อยู่ด้านหน้ าก�าแพง ได้ อย่ างไร” นี่ไม่ใช่การชี ้ เพื่อให้ สิ ้นหวัง แต่เป็ นการชี ้ให้ มองหา สิ่งที่ส�าคัญจริ งๆ สิ่งส�าคัญที่ว่าคือ ทังครู ้ และเด็กๆ เป็ นมนุษย์ เป็ นบทบาทอันควรค่าที่มนุษย์ จากรุ่นหนึง่ ต้ องสร้ างการเรียนรู้ เพือ่ การด�ารงอยูข่ องความเป็ นมนุษย์ในรุ่นถัดไป ๑๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“เราก�ำลังสร้ างการด�ำรงอยู่ต่อไปได้ อีกของมนุษย์ สิ่งนีอ้ ยู่ในยีนส์ เรา” แต่ ก็ น่ า ใจหายกั บ สิ่ ง ที่ ร ะบบการศึ ก ษาเคยท� ำ ทุ ก อย่ า งเพื่ อ การ พั ฒ นาครู เมื่ อ ยี่ สิ บ ถึ ง สามสิ บ ปี ที่ ผ่ า นมาไม่ ว่ า จะเป็ นการจั ด อบรมครู อย่า งมากมาย หรื อ การส่ง เสริ ม ให้ ค รู เ รี ย น เพื่ อ ให้ ไ ด้ วุฒิ สูง ขึน้ แนวทาง เหล่ า นั น้ กลั บ ไม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ ครู ที่ เ ป็ นอยู่ ในปั จ จุ บั น มี คุ ณ ภาพในการจั ด การเรี ยนรู้สงู ขึ ้นอย่างเท่าทัน กับสังคม หรื อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดปี ก ารศึ ก ษาปี แ ล้ ว ปี เ ล่ า ครู ท� ำ สิ่ ง เดิ ม ซ� ำ้ ๆ วุ่น วายอยู่กับ การสอนและกิ จ กรรมมากมาย แล้ วก็ ส อบ ครู ต้ องยึ ด อยู่ กั บ หลั ก สู ต ร และต� ำ ราที่ เ ก่ า แก่ ก ว่า 20 ปี เด็ ก ๆ ถูก ปั่ น เข้ า แข่ ง ขัน ครู ก็ แ ข่ ง ขัน กัน เอง ในที่ท�ำงาน เพื่อเป้าหมายของตัวเอง ความเป็ นทีมที่จะร่ วมกันท�ำให้ บรรลุ เป้าหมายส�ำคัญจริ งๆ ไม่ได้ มากพอที่จะสร้ างคุณค่าให้ แต่ละคน เพื่อให้ ทนั การณ์ การพัฒนาครู ควรจะรื อ้ ทิง้ ความคิดวิธีเก่านัน้ เสีย ด้ วยที่ เ ราแต่ ล ะคนใช้ เวลากั บ งานแทบตลอดชี วิ ต ที่ ท� ำ งานควรเป็ นที่ ที่เราอยู่อย่างมีความสุขอย่างมีความหมาย งานควรจะเป็ นสิ่งที่ท�ำให้ เราได้ มีโอกาสเรี ยนรู้ชีวิต และเติบโตภายในไปด้ วยกัน

๑๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

หนังสือเล่มนี ้ ช่ ว ยให้ ผ มกระจ่ างชั ด ในการน� ำ ไปสู่ ป ฏิบัติก าร สร้ างชุมชุนการเรี ยนรู้ วชิ าชีพ (PLC) ขึน้ ในองค์ กร เพื่อสร้ างครู ให้ เป็ น นักเรียนรู้จากการปฏิบตั ิ เป็ นครูแบบรวมหมู่ ที่สร้ างพลังการเรียนรู้ใหม่ ให้ กับเด็กๆ รุ่ นต่ อไป ในหนังสือ “บันเทิงชีวิตครู สู่ชุมชนการเรี ยนรู้ ” โดย ศ.นพ.วิ จ ารณ์ พานิ ช เล่ ม นี ้ ไม่ มี ส่ ว นไหนขาดหายไปเลย ตัง้ แต่ การสร้ างแรงบันดาลใจ การอรรถาธิ บายถึงโครงสร้ าง รวมถึงบอกวิธีทัง้ เทคนิคต่างๆ ที่จ�ำเป็ นส�ำหรับ การสร้ างชุมชนการเรี ยนรู้วิชาชีพ (PLC) วิเชียร ไชยบัง ครูใหญ่โรงเรี ยนล�ำปลายมาศพัฒนา

๑๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๑๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

สารบัญ

บทที่ ๑ ก�าเนิด และ อานิสงส์ ของ PLC

๒๐

บทที่ ๒ หักดิบความคิด

๒๘

บทที่ ๓ มีความมุง่ มัน่ ที่ชดั เจนและทรงคุณค่า

๓๖

บทที่ ๔ โฟกัส + เป้าหมาย ที่การเรี ยนรู้ (ไม่ใช่การสอน)

๑๖

๕๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

บทที่ ๕ เมื่อนักเรี ยนบางคนเรี ยนไม่ทนั

๕๘

บทที่ ๖ สร้ างวัฒนธรรมความร่วมมือ

๖๖

บทที่ ๗ เน้ นที่ผลลัพธ์ ไม่ใช่แผนยุทธศาสตร์

๘๒

บทที่ ๘ พลังของข้ อมูลและสารสนเทศ

๘๘

๑๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

บทที่ ๙ ประยุกต์ใช้ PLC ทัว่ ทังเขตพื ้ ้นที่การศึกษา

๑๐๐

บทที่ ๑๐ วิธีจดั การความเห็นพ้ องและความขัดแย้ ง

๑๑๐

บทที่ ๑๑ ชุมชนแห่งผู้น�ำ

๑๑๖

บทที่ ๑๒ สรุป (จบ)

๑๒๖

บทที่ ๑๓ ประสบการณ์การประยุกต์ใช้ ในประเทศไทย ๑๘

๑๓๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๑๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑ ก�เนิด และ อานิสงส์ ของ PLC

๒๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...ครู ต ้ อ งเปลี่ ย นบทำบาทำจาก “ครู ส อน” (Teacher) มาเป็ น “ครู ฝ ึ ก ” (Coach) หรื อ ครู ผู ้ อ�นวยความสำะดวกในการเรี ย น (Learning Facilitator) ห้ อ งเรี ย นต้ อ ง เปลี่ยนจากห้องสอน (Class Room) มาเป็น ห้องท�งาน (Studio)...”

๒๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ผมตังชื ้ ่อบันทึกชุดนี ้ว่า “บันเทิงชีวติ ครู...” เพราะเชื่อว่า “ครูเพื่อศิษย์ ” (https://goo.gl/7vkJGd) ท� ำ หน้ า ที่ ค รู ด้ ว ยความบัน เทิ ง ใจ รั ก และสนุก ต่ อ การท� ำ หน้ า ที่ ค รู ให้ คุณ ค่ า ต่ อ การท� ำ หน้ า ที่ ค รู แม้ จ ะเหนื่ อ ยและหนัก รวมทังหลายครั ้ ง้ หนักใจ แต่ก็ไม่ท้อถอย โดยเชือ้ ไฟที่ช่วยให้ แรงบันดาลใจ ไม่ มอดคือ คุณค่ าของความเป็ นครู ผมขอร่ ว มบู ช าคุ ณ ค่ า ของความเป็ นครู และครู เ พื่ อ ศิ ษ ย์ ด้ วย บั น ทึ ก ชุ ด นี ้ ชุ ด ก่ อ นๆ และชุ ด ต่ อ ๆ ไป ที่ จ ะพากเพี ย รท� ำ เพื่ อ บู ช าครู เป็ น การลงเงิ น ลงแรง (สมอง) และเวลา เพื่ อ ร่ ว มสร้ าง “บัน เทิ ง ชี วิ ต ครู ” โดยไม่หวังผลตอบแทนส่วนตัว หวังผลต่ออนาคต ของบ้ านเมืองเป็ นหลัก Richard DuFour1 เป็ น “บิดาของ PLC” ตามหนังสือเล่มนี ้ เขาบอกว่า เขาเริ่ มท� ำงานวิจัย พัฒนา และส่งเสริ ม PLC มาตัง้ แต่ ค.ศ. ๑๙๙๘ คือ พ.ศ. ๒๕๔๑ ก่อนผมท�ำงาน KM ๕ ปี คือผมท�ำงาน KM ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่จบั ๒ เรื่ องนี ้โยงเข้ าหากันก็เพราะ PLC (Professional Learning Community) ก็คือ CoP (Community of Practice) ของครู นั่นเอง และ CoP คือรูปแบบหนึง่ ของ KM ๒๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

01 Richard DuFour บิดาของ PLC ผู้มีประสบการณ์ จากการวิจัย และส่งเสริ ม PLC ในสหรั ฐอเมริ กา

๒๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ตอนนี ้ PLC แพร่ ข ยายไปทั่ว สหรั ฐ อเมริ ก า รวมทัง้ ประเทศอื่ น ๆ ที่ต้องการพัฒนาคุณภาพ ของการศึกษาของประเทศ เช่น สิงคโปร์ หัวใจส�ำคัญที่สุดของ PLC คือมันเป็ นเครื่ องมือในการด�ำรงชีวติ ที่ดีของครู ในยุคศตวรรษที่ ๒๑ ที่การเรี ยนรู้ในโรงเรี ยน (และมหาวิทยาลัย) ต้ องเปลี่ยนไปจากเดิมโดยสิ ้นเชิง โดยครู ต้องเปลี่ยนบทบาทจาก “ครู สอน” (Teacher) มาเป็ น “ครูฝึก” (Coach) หรื อครูผ้ อู �ำนวยความสะดวกในการเรี ยน (Learning Facilitator) ห้ อ งเรี ย นต้ อ งเปลี่ ย นจากห้ อ งสอน (Class Room) มาเป็ น ห้ อ งท� ำ งาน (Studio) เพราะในเวลาเรี ย นส่ วนใหญ่ นั ก เรี ย นจะ เรี ย นเป็ นกลุ่ ม โดยการท� ำงานร่ วมกัน ที่ เรี ยกว่าการเรี ยนแบบโครงงาน (Project-Based Learning) การศึ ก ษา ต้ อ งเปลี่ ย นจากเน้ นการสอน (ของครู ) มาเป็ น เน้ น การเรี ย น (ของนัก เรี ย น) การเรี ย นเปลี่ ย นจาก เน้ น การเรี ย นของปั จ เจก (Individual Learning) มาเป็ น เรี ยนร่ วมกัน เป็ นกลุ่ม (Team Learning) เปลี่ยนจากการเรี ยนแบบเน้ นการแข่ งขัน เป็ นเน้ นความร่ วมมือ หรื อ ช่วยเหลือแบ่งปั นกัน ครู เปลี่ยนจากการบอกเนือ้ หาสาระ มาเป็ นท�ำหน้ าที่สร้ างแรง บันดาลใจ สร้ างความท้ าทาย ความสนุก ในการเรี ยน ให้ แก่ศษิ ย์ โดยเน้ น ออกแบบ โครงงานให้ นั ก เรี ย น แบ่ ง กลุ่ ม กั น ลงมื อ ท� ำ เพื่ อ เรี ย นรู้ จาก การลงมื อ ท� ำ (Learning by Doing) เพื่ อ ให้ ได้ เรี ยนรู้ ฝึ กฝนทั ก ษะ ๒๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

21st Century Skills แล้ ว ครู ช วนศิ ษ ย์ ร่ วมกั น ท� ำ Reflection หรื อ AAR เพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ หรื อทักษะที่ลึก และเชื่ อมโยง รวมทัง้ โยงประสบการณ์ ต รงเข้ า กั บ ทฤษฎี ท่ ีมี ค นเผยแพร่ ไว้ แ ล้ ว ท� ำให้ เกิ ด การเรี ยนรู้เชิงทฤษฎีจากการปฏิบตั ิ ไม่ใช่จากการฟั ง และท่องบ่น หั ว ใจของการเปลี่ ยนแปลงคื อ เรี ย นรู้ จากการลงมื อ ท� ำ (Learning by Doing) เปลี่ยนจากเรี ยนรู้ จากฟั งครู สอน (Learning by Attending Lecture / Teaching) ทัง้ หมดนี ้ เป็ นการเปลี่ ย นแปลงโรงเรี ย น และวงการศึ ก ษา โดยสิน้ เชิง เป็ นการเปลี่ยนแปลงในระดับจิตส�ำนึก ระดับรากฐาน และระดับ โครงสร้ าง จึงต้ องมี “การจัดการการเปลี่ยนแปลง” (Change Management) อย่างจริ งจัง และอย่างเป็ นระบบ โดยต้ องมีทงการจั ั้ ดการแบบ Top-Down โดยระบบบริ ห าร (กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร) และแบบ Bottom-Up โดยครูชว่ ยกันแสดงบทบาท “...PLC คือเครื่องมือสำ�หรับให้ครูรวมตัวกัน (เป็นชุมชน – Community) ทำ�หน้าที่เป็น Change Agent ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ในระดับ “ปฏิรูป” การเรียนรู้ เป็นการปฏิรูปที่ “เกิดจากภายใน…”

๒๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

มองจากมุ ม หนึ่ ง PLC คื อ เครื่ อ งมื อ ส� ำ หรั บ ให้ ครู รวมตั ว กั น (เป็ นชุมชน – Community) ท�ำหน้ าที่เป็ น Change Agent ขับเคลื่อน การเปลี่ ย นแปลงในระดั บ “ปฏิ รู ป ” การเรี ยนรู้ เป็ นการปฏิ รู ปที่ “เกิ ด จากภายใน” คื อ ครู ร่ ว มกัน ด� ำ เนิ น การ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ รู ป การเรี ย นรู้ ด�ำเนินคูข่ นาน และเสริ มแรงกัน ทังจากภายใน ้ และจากภายนอก PLC เป็ น เครื่ องมื อ ให้ ค รู เ ป็ น Actor ผู้ ล งมื อ กระท�ำ เป็ น “ประธาน” เพื่ อ สร้ างการเปลี่ ย นแปลงให้ แ ก่ วงการศึ ก ษา ไม่ ใ ช่ ป ล่ อ ย ให้ ครู เป็ น “กรรม” (ผู้ถูกกระท�ำ) อยู่เรื่ อยไป หรื อเป็ นเครื่ องมือปลดปล่อย ครู อ อกจากความสัม พัน ธ์ เ ชิ ง อ� ำ นาจ สู่ค วามสัม พัน ธ์ แ นวราบ เพื่ อ ร่ ว ม กั น สร้ างการเปลี่ ย นแปลงให้ แก่ ก ารศึ ก ษา รวมทั ง้ สร้ างการรวมตั ว กั น ของครู เพื่ อ ท� ำ งานสร้ างสรรค์ ได้ แ ก่ การเอาประสบการณ์ การจั ด การเรี ยนรู้ แบบ PBL และนวัตกรรมอื่นๆ ที่ตนเองทดลอง เอามาแลกเปลี่ยน แบ่ง ปั น กัน เกิ ด การสร้ างความรู้ หรื อ ยกระดับ ความรู้ ในการท� ำ หน้ า ที่ ค รู จากประสบการณ์ ต รง และจากการเที ย บเคี ย ง กับ ทฤษฎี ที่ มี ค นศึก ษา และเผยแพร่ไว้ เป็ นเครื่ องมือ น�ำเอาเกียรติภูมิ ของครู กลับคืนมา โดยไม่รอให้ ใคร หยิบยื่นให้ แต่ท�ำโดยลงมือท�ำ ครูแต่ละคนลงมือศึกษา 21st Century Skills, 21st Century Learning, 21st Century Teaching, PBL, PLC แล้ วลงมือท�ำ ท�ำแล้ วทบทวนการเรี ยนรู้จากผลที่เกิด (Reflection) เอง และร่วมกับเพื่อนครู เกิดเป็ น “ชุมชนเรี ยนรู้ ครูเพื่อศิษย์” ซึง่ ก็คือ PLC นัน่ เอง ๒๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ผมมองว่ า PLC คื อ เครื่ องมื อ ที่ จ ะช่ วยน� า ไปสู่ การตั ง้ โจทย์ และท�า “วิจัยในชัน้ เรี ยน” ที่ทรงพลั งสร้ างสรรค์ จะช่วยการออกแบบ วิ ธี วิ ท ยาการวิ จั ย การเก็ บ ข้ อมู ล การวิ เ คราะห์ ข้ อมูล ผลการวิ จั ย และ การสัง เคราะห์ อ อกมาเป็ น ความรู้ ใหม่ ที่ เ ชื่ อ มโยงกับ บริ บ ทความเป็ น จริ ง ของสังคมไทย ของวงการศึกษาไทย คือจะเป็ นผลการวิ จั ย ในชั น้ เรี ย น ที่ ไ ม่ ใ ช่ จ� า กั ด อยู่ เ ฉพาะข้ อ มู ล ในชั น้ เรี ย นเท่ า นั น้ แต่ จ ะเชื่ อ มโยงสู่ ชีวิตจริ งของผู้คน ที่เป็ นบริ บท ของการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยน และการ ท�าหน้ าที่ครู ด้วย เอาเข้ าจริ ง ผมเขียนตอนที่ ๑ นี ้ โดยไม่ได้ รวบรวมจากบทที่ ๑ ของ หนังสือ Learning by Doing แต่เป็ นการเขี ยนจากใจของผมเอง เพราะ พอเริ่ ม ต้ น ความรู้ สึก ก็ ไ หลหลั่ง ถั่ง โถม ให้ ผ มเขี ย นรวดเดี ย วออกมาเป็ น บันทึกนี ้

๒๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๒ หักดิบความคิด

๒๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...หากจะให้ ศิ É ย์ เ รี ย นรู ้ ä ด้ จ ริ ง เรี ย นรู ้ อย่ า งลึ ก อย่ า งเชื่ อ มโยง ครู ต ้ อ งหั ก ดิ บ ค ว า ม เ ค ย ชิ น ข อ ง ต น เ ป ลี่ ย น จ า ก สำ อ น โดยการบอกให้นักเรียนลงมือทำ� ครูเปลี่ยน บทบาทจากครูสอน äปเป็นครูฝึก...”

ตอนที่ ๒ นี จ้ ับความจาก Chapter 1 : A Guide to Action for Professional Learning Communities at Work ๒๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

วงการศึกษาของเราเดินทางผิดมาช้ านาน โดยทีท่ างถูกคือ คนเราเรียน รู้ได้ ดีที่สดุ โดยการลงมือท�ำ ขงจื๊อกล่าวว่า “ฉันได้ ยิน แล้ วก็ลมื ฉันเห็น ฉันจึงจ�ำ ได้ เมื่อฉันลงมือท�ำ ฉันจึงเข้ าใจ” หากจะให้ ศษิ ย์ เรี ยนรู้ ได้ จริง เรี ยนรู้ อย่ าง ลึก อย่ างเชื่อมโยง ครู ต้องหักดิบความเคยชินของตน เปลี่ยนจากสอน โดยการบอก เป็ น ให้ นักเรี ยนลงมือท�ำ ครู เปลี่ยนบทบาทจากครู สอน ไปเป็ นครู ฝึก นอกจากนัน้ ในแนวทางใหม่นี ้เน้ นเรียนโดยร่ วมมือ มากกว่ าแข่ งขัน และแข่ งกับตัวเอง มากกว่ าแข่ งกับเพื่อน บทบาทของครู ท่ เี ปลี่ยนไป ที่จะต้ องเน้ นให้ แก่ ศษิ ย์ ได้ แก่ • เน้ นให้ ศษิ ย์เรี ยนรู้จากการลงมือท�ำ ใน PBL (Project-Based Learning) • ส่งเสริ มแรงบันดาลใจ ให้ ก�ำลังใจ (Reinforcement) ในการเรี ยนรู้ • ส่งเสริ มและสร้ างสรรค์จินตนาการ • ส่งเสริ มให้ กล้ าลอง ลงมือท�ำ • เป็ นครูฝึก ใน PBL • ออกแบบ PBL • มีทกั ษะในการชวนศิษย์ท�ำ Reflection จากประสบการณ์ใน PBL • ชวนท�ำความเข้ าใจคุณค่าของประสบการณ์จากแต่ละ PBL ๓๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

PLC (Professional Lerning Community) ไม่ใช่ ... เพื่อให้ เข้ าใจ PLC อย่างแท้ จริ ง จึงควรท�ำความเข้ าใจว่าสิง่ ใดไม่ใช่ PLC กิจกรรมแคบๆ ตื ้นๆ สันๆ ้ ต่อไปนี ้ ไม่ใช่ PLC • โครงการ (Project) • สิง่ ที่ฝ่ายบริ หารก�ำหนดให้ ท�ำ • สิง่ ที่ท�ำ ๑ ปี หรื อ ๒ ปี แล้ วจบ • สิง่ ที่ซื ้อบริ การที่ปรึกษาให้ ท�ำ • การประชุม (โรงเรี ยนใดอ้ างว่ามี PLC จากการที่มีครู จ�ำนวนหนึ่ง นัดมา ประชุมร่ วมกันสม�่ำเสมอ แสดงว่ายังไม่ร้ ูจกั PLC ของจริ ง ซึ่งนอกจาก การประชุมแล้ ว ยังต้ องมี องค์ ประกอบส�ำคัญอื่ นๆ ที่จะกล่าวถึงต่อไป) • การรวมตัวกันของครู กลุ่มหนึ่งในโรงเรี ยน (PLC ที่ แท้ จริ ง ต้ อง เป็ นความ พยายามร่วมกันของทังโรงเรี ้ ยน หรื อทังเขตการศึ ้ กษา) • การรวมกลุ่ ม กั น เปลี่ ย นแปลง หรื อ พั ฒ นาการจั ด การเรี ย น การสอนของครู (PLC ที่ แ ท้ จ ริ ง ต้ อ งเป็ น กิ จ กรรมเพื่ อ เปลี่ ย น วัฒนธรรมการท�ำงานของทังองค์ ้ กร หรื อทังเขตการศึ ้ กษา • สโมสรแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ จากการอ่านหนังสือ (Book Club)

๓๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

PLC คืออะไร PLC คือ กระบวนการต่ อเนื่อง ที่ครู และนักการศึกษาท�ำงาน ร่ วมกัน ในวงจรของการร่ วมกัน ตัง้ ค�ำถาม และการท�ำวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร เพื่อบรรลุผลการเรี ยนรู้ ท่ ดี ขี นึ ้ ของนักเรี ยน โดยมีความเชื่อว่ า หัวใจของ การพัฒนาการเรี ยนรู้ ของนั กเรี ยนให้ ดีขึน้ อยู่ท่ ีการเรี ยนรู้ ที่ฝังอยู่ใน การท�ำงานของครู และนักการศึกษา “...หั ว ใจของการพั ฒ นาการเรี ย นรู ้ ข อง นั ก เรี ย นให้ ดี ขึ้ น อยู ่ ที่ ก ารเรี ย นรู ้ ที่ ฝ ั ง อยู ่ ใ น การทำ�งานของครูและนักการศึกษา...”

PLC เป็ นกิจกรรมที่ซบั ซ้ อน (Complex) มีหลากหลายองค์ประกอบ จึงต้ องนิยามจากหลายมุม โดยมีแง่มมุ ที่ส�ำคัญต่อไปนี ้ - เน้ นที่การเรี ยนรู้ - วัฒนธรรมร่วมมือเพื่อการเรี ยนรู้ของทุกคน ทุกฝ่ าย - ร่วมกันตังค� ้ ำถามต่อวิธีการที่ดี และตังค� ้ ำถามต่อสภาพปั จจุบนั - เน้ นการลงมือท�ำ - มุง่ พัฒนาต่อเนื่อง - เน้ นที่ผล (หมายถึงผลสัมฤทธิ์ในการเรี ยนรู้ของศิษย์) ๓๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ผมขอเสริ ม นิ ย าม PLC ตามความเข้ าใจของผม ว่ า หมายถึ ง การรวมตั ว กั น ของครู ใ นโรงเรี ย น หรื อ เขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา เพื่ อ แลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ วิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นรู้ ให้ ศิ ษ ย์ เรี ย นรู้ ได้ ทั ก ษะ 21st Century Skills โดยที่ผ้ ูบริหารโรงเรี ยน คณะกรรมการโรงเรี ยน ผู้ บ ริ ห ารเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา และผู้ บ ริ ห ารการศึ ก ษาระดั บ ประเทศ เข้ าร่ วมจัดระบบสนั บสนุ น ให้ เกิดการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ต่ อเนื่ อง มีการพัฒนาวิธีการเรี ยนรู้ ของศิษย์อย่างต่อเนื่อง เป็ นวงจรไม่ร้ ูจบ ในภาษา ของผม นี่คือ CQI (Continuous Quality Improvement) ในวงการศึกษา หรื ออาจเรี ยกว่าเป็ น R2R ในวงการศึกษาก็ได้ PLC ที่ แ ท้ จ ริ ง ต้ อ งมี ก ารท� ำ อย่า งเป็ น ระบบ มี ผ้ ูเ ข้ า ร่ ว มขับ เคลื่ อ น ในหลากหลายบทบาท โดยมีเป้าหมายพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ยนของศิษย์ ท�ำไมเราไม่ ลงมือท�ำสิ่งที่เรารู้ ค� ำ ตอบ คื อ เพราะคนเรามี โ รค “ช่ องว่ างระหว่ างการรู้ กั บ การลงมื อ ท� ำ ” (Knowing - Doing Gap) บัน ทึ ก ที่ จั บ ความจาก หนัง สื อ เล่ ม นี ้ จะช่ ว ยถมหรื อ เชื่ อ มต่ อ ช่ อ งว่ า งนี ้ โดยเปลี่ ย นโรงเรี ย นไป เป็ น PLC เพื่ อ ช่ วยให้ นั ก การศึ ก ษามี ถ้ อยค� ำ ที่ เข้ าใจตรงกั น ต่ อ กระบวนการหลักของ PLC

๓๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

• ความจริ งในปั จจุ บั น ครู และนั ก การศึ ก ษา ใช้ ค� ำ ว่ า Professional Learning Communities, Collaborative Teams, Goals, Formative Assessment, etc กันเกร่ อ ในความหมาย ที่ แ ตกต่ า งกัน หลัก การหนึ่ ง ของการบริ ห ารการเปลี่ ย นแปลง คื อ การมี ถ้ อ ยค� ำ ที่ ใ ช้ ร่ ว มในความหมายที่ เ ข้ า ใจชัด เจนร่ ว มกัน การเปลี่ยนโรงเรี ยน ตามจารี ตเดิมไปเป็ น PLC จะต้ องมีถ้อยค�ำ เหล่านี ้ ซึง่ จะปรากฎ ในตอนต่อๆ ไปของบันทึก และค้ นได้ ที่เว็บไซต์ http://goo.gl/6x82IL • ยืนยันให้ ประจักษ์ ว่าการใช้ กระบวนการ PLC จะก่อประโยชน์ ทังต่ ้ อนักเรี ยน และต่อครู และนักการศึกษา คือท�ำให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่ลกึ กว้ าง และเชื่อมโยง ทังต่ ้ อนักเรี ยนและต่อครู ที่ส�ำคัญยิ่งใน ความเห็นของผมก็คือ ช่วยเผยศักยภาพที่แท้ จริ งของปั จเจกออกมา ผ่านกระบวนการกลุม่ • ช่ วยครู และนั ก การศึ ก ษา ประเมิ น สถานการณ์ จริ ง ในโรงเรี ย น และเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษาของตน หลัก การคื อ ในการเปลี่ ย นแปลงจากจุด ก ไปสู่จุด ข นัน้ จะง่ า ยขึน้ หาก ผู้เกี่ยวข้ องมีความชัดเจนว่าจุด ข เป็ นอย่างไร และจุด ก ที่เป็ นอยู่ ในขณะนี ้เป็ นอย่างไร การจัดการ การเปลีย่ นแปลงโดยทัว่ ไปมักมัว่ เพราะไม่มคี วามชัดเจน ทังต่ ้ อจุด ก และจุด ข บันทึกจากการตีความ หนังสือเล่มนี ้จะช่วยให้ สามารถท�ำความเข้ าใจทังจุ ้ ด ก และจุด ข ๓๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ได้ ชั ด เจน ในเรื่ องจารี ต วั ฒ นธรรม กระบวนทั ศ น์ ฯลฯ ที่ ค รู แ ล ะ นั ก ก า ร ศึ ก ษ า เ ค ย ชิ น อ ยู่ กั บ มั น จ น ล ะ เ ล ย ห รื อ ขาดความสามารถในการท� า ความชั ด เจน การด� า เนิ น การ ตามคู่ มื อ จะช่ วยให้ ม องสภาพความเป็ นจริ ง จากสายตา ของคนนอก ช่ วยให้ มองผ่ านม่ านบังตาได้ • หาทางท�าให้ ครู และนั กการศึกษาใช้ หรื อร่ วมกิจกรรม PLC หนังสือฉบับนีเ้ ป็ นคู่มือ เพื่อการลงมือด�าเนินการ เป็ นเครื่ องมือ เชื่ อ มความรู้ กับ การลงมื อ ท� า ค� า ถามในเรื่ อ งนี ไ้ ม่ ใ ช่ “จะหา ความรู้ในเรื่ องที่เราจะท�าได้ อย่างไร” ค�าถามที่ถกู ต้ องคือ “จะลงมือ ท�าในสิ่งที่เรารู้ อยู่แล้ วได้ อย่างไร” โดยมีคู่มือด�าเนินการค้ นได้ ที่ http://goo.gl/eDgqIK ลงมือท�า ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข อ ง ผู้ เ ขี ย น ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี ้ จ า ก ก า ร ท� า ง า น ร่ ว มกับ เขตพื น้ ที่ ก ารศึก ษาต่า งๆ (ในสหรั ฐ อเมริ ก า) มานานกว่ า ๑๐ ปี เขตพื น้ ที่ ท่ ี ป ระสบความส� า เร็ จ สู ง คื อ เขตที่ ล งมื อ ท�า อย่ า งไม่ รี ร อ ประสบความส�าเร็จมากกว่ า เขตที่มัวแต่ ตระเตรี ยมความพร้ อม

๓๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๓ มีความมุ่งมั่นที่ชด ั เจน และทรงคุณค่า

๓๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...PLC เล็ ก ๆเริ่ ม ขึ้ น โดยäม่ ä ด้ บั ง คั บ ä ม ่ สำ ร ้ า ง ค ว า ม อึ ด อั ด ใ ห ้ แ ก ่ ค รู ทำี่ ยั ง ä ม ่ ศ รั ทำ ¸ า ห รื อ ä ม ่ อ ย า ก เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ต ่ เ ริ่ ม â ด ย ก ลุ ่ ม ค รู ที่ ศ รั ท ¸ า ทำี่ ช อ บ งานทำ้าทำาย ชอบเป็น¼ู้น�การเปลี่ยนแปลง...”

ตอนที่ ๓ นี จ้ ับความจาก Chapter 2 : A Clear and Compelling Purpose ๓๗

๑๘

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ในสายตาของผม PLC เป็ นการรวมตัวกัน “เดินทางไกลแห่งชีวิต” ที่สมาชิกจะอุทิศชีวิต เพื่อการนี ้ เพื่อการสร้ างสรรค์ คนรุ่ นใหม่ของสังคม เพื่ อ การสร้ างสรรค์ การเรี ย นรู้ แนวใหม่ ที่ บ รรลุ 21st Century Skills ในตัวศิษย์ เพื่อการสร้ างสรรค์ “การศึกษา” แห่งศตวรรษที่ ๒๑ ที่แตกต่าง จากการศึก ษาแห่ง ศตวรรษที่ ๒๐ และ ๑๙ โดยสิน้ เชิ ง และที่ ส�ำ คัญ ยิ่ ง เพื่ อ ชี วิ ต ที่ ดี ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ของครู และผู้ ที่ เ ข้ ามาเกี่ ย วข้ องกั บ PLC ทุกคน เพราะ PLC คือมรรคาแห่ งการเรี ยนรู้ จากการปฏิบัต ิ ที่ทำ� ให้ ผ้ ูเกี่ยวข้ องเกิด Learning Skills แห่ งศตวรรษที่ ๒๑ และเป็ น “บุคคลเรี ยนรู้ ” การพัฒนาตนเองของครู เพื่อเป็ น Learning Person และร่ วมกับ สมาชิกของ PLC พัฒนาซึง่ กันและกัน ด้ วย Interactive Learning Through Action คื อ มรรควิธีแห่งชี วิต ที่ มีความสุข ที่ ท่านจะสัมผัสได้ ด้ วยตนเอง เมื่อท่านลงมือท�ำ PLC จะเปลี่ ย นบรรยากาศของ “โรงเรี ย น” เพราะจะไม่ เ ป็ น “โรงเรี ยน” ตามแนวทางเดิมอีกต่ อไป แต่ จะกลายเป็ น PLC ที่สมาชิก ร่ วมกันเป็ นเจ้ าของอย่ างเท่ าเทียมกัน ๓๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

สิ่งที่ทรงคุณค่าที่สุด ที่ทุกคนเป็ นเจ้ าของร่ วมกัน คือ “ความมุ่งมั่น ที่ ชั ด และทรงคุ ณ ค่ า ” ว่ า ทุ ก คนต้ องการช่ ว ยกั น ยกระดั บ คุ ณ ภาพของ การเรี ยนรู้ ของศิษย์ (และของตนเอง) เพื่อให้ ศิษย์บรรลุ 21st Century Skills โดยที่สมาชิกทุกคนร่ วมกัน คิดหาวิธีการใหม่ ๆ แยกกันทดลอง แล้ ว น�ำผลที่เกิดขึน้ มาปรึ กษาหารื อ หรื อ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กัน ท�ำเช่นนี ้ เป็ นวงจรไม่ร้ ูจบ โดยทุกคนมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง และเชื่อมัน่ ซึง่ กันและกัน ว่าจะค่อยๆ บรรลุความมุ่งมัน่ (Purpose) ที่ตงไว้ ั ้ ได้ ดีขึ ้นเรื่ อยๆ โดยเชื่อใน หลักการ “พัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง” (CQI – Continuous Quality Improvement) โรงเรี ยนกลายเป็ น PLC และ PLC คื อ องค์ ก ร เคออร์ ดิ ค (http://goo.gl/DcTci2) ที่มี “ความมุง่ มัน่ ชัดเจน และทรงพลัง” ท่านที่ต้องการ อ่านเรื่ อง องค์กร เคออร์ ดคิ ที่ผมเคยเขียนไว้ อ่านได้ ที่ https://goo.gl/bW1Ehz ความหมายของ เคออร์ ดิ ค คื อ สมาชิ ก ขององค์ ก ร หรื อ กลุ่ ม มี เ ป้ า หมายระดั บ ความมุ่ ง มั่ น (Purpose) ชั ด เจนร่ ว มกั น แต่ วิ ธี บ รรลุ ความมุ่งมัน่ นัน้ ทุกคนมีอิสระที่จะใช้ ความสร้ างสรรค์ของตน ที่จะปรึ กษากัน แล้ วเอาไปทดลอง เพื่อหาแนวทางท�ำงานใหม่ๆ ที่ให้ ผลดีกว่าเดิม คื อ องค์ ก ร เคออร์ ดิ ค มี วัฒ นธรรม และความสัม พัน ธ์ แ นวราบ ระหว่างสมาชิก ลดความเป็ น “ราชการ” (Bureaucracy, Top-Down) ลงไป ข้ างบนนัน้ คือ ความคิดของผมเอง ส่วนหนังสือเล่มนี ้ บทที่ ๒ เริ่ มด้ วยครู ใหญ่ Dion ไปรับการอบรมเรื่ อง PLC กลับมาด้ วย ความตังใจ ้ เต็มร้ อย ที่จะเปลี่ยนโรงเรี ยนเป็ น PLC ตามที่เรี ยนมา ๓๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

จึงเริ่ มต้ น “การจัดการการเปลี่ยนแปลง” ตามทฤษฎีที่เรี ยนมา คื อ เขี ย นเอกสารพั น ธกิ จ (Mission Statement) เอาเข้ าที่ ป ระชุ ม ครู เพื่ อ ให้ ลงมติ รั บ รอง แล้ วก็ ล้ มเหลวไม่ เ ป็ นท่ า หนึ่ ง ปี ผ่ า นไปก็ ไ ม่ เ กิ ด การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ล้มเหลว เพราะครูใหญ่ Dion ด�ำเนินการ จัดการการเปลี่ยนแปลง ผิด วางยุทธศาสตร์ ผิดพลาด ท�ำตามทฤษฎีเกินไป ค�ำแนะน�ำ ต่อการจัดการการเปลี่ยนแปลงที่ถูกต้ อง คือ ต้ องเริ่ มที่ คุณค่ า ตัง้ ค�ำถามเชิงคุณค่ า ว่ าโรงเรี ยนของเราด�ำรงอยู่ (และใช้ เงินภาษี ของชาวบ้ าน) เพื่ออะไร ท�ำไมต้ องมีโรงเรี ยนนี ้ ไม่ มีโรงเรี ยนนีไ้ ด้ ไหม โรงเรี ยนนี ้ จะด�ำรงอยู่อย่ างสง่ างาม ได้ ช่ ือว่ าท�ำคุณประโยชน์ มากกว่ า ทรั พยากรที่ใช้ ไป ได้ อย่ างไร ค� ำ ตอบ ไม่ ห นี คุณ ค่ า ต่ อ ศิ ษ ย์ ต่ อ การสร้ างอนาคต ให้ แ ก่ อ นุช น รุ่ นหลัง ก็จะเกิ ดค�ำถามว่า ที่เราท� ำกันอยู่ในขณะนี ้ เป็ นการสร้ างอนาคต หรื อดับอนาคตของเยาวชนกันแน่ จะให้ มั่นใจ ภูมิใจ ว่าโรงเรี ยนนี ้ ได้ ท�ำ หน้ าที่สร้ างอนาคตแก่ศิษย์ เราจะต้ องมีความมุ่งมัน่ (Purpose) ของโรงเรี ยน อย่างไร ผล Learning Outcome แบบไหน ที่ถือว่า ประสบความส�ำเร็ จ เป็ น โรงเรี ย น ที่ ส ร้ างอนาคตให้ แ ก่ เ ยาวชน น� ำ ไปสู่ก ารร่ ว มกั น ยกร่ า ง Purpose Statement ของโรงเรี ยน และ Core Value ของโรงเรี ยน ที่ทกุ คน เป็ นเจ้ าของร่วมกัน และจะใช้ เป็ นประทีปทางจิตวิญญาณ ในการเดินทางไกล ร่วมกัน เพื่อน�ำ/เปลี่ยนแปลง โรงเรี ยนไปสูเ่ ป้าหมายที่ทรงคุณค่า ที่ร่วมกันฝั น ๔๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ต้ องอย่าลืมย� ้ำว่า เราก�ำลังร่ วมกันวางรากฐานของการเดินทางไกล สู่ “โรงเรี ยนที่เราภูมิใจ” ไม่ใช่โครงการ ๑ ปี ๒ ปี หรื อโครงการระยะสัน้ ตามวาระของครู ใหญ่ หรื อตามนโยบายของรัฐบาลใดๆ เป็ นกิจกรรม ที่เรา ร่ วมกันคิดเอง ท�ำเอง ฟั นฝ่ ากันเอง ไม่ใช่จากบงการภายนอก ครู ใหญ่ ควรมี“คณะท�ำงาน”เพื่อเป็ นแกนน�ำคิดเรื่ องนี ้ หรื อไม่ เป็ นอีกยุทธศาสตร์ หนึ่งที่ควรพิจารณา หลักการคือ ในการจัดการการ เปลี่ยนแปลงนัน้ ผู้บริหารเบอร์ ๑ ต้ องไม่ โดดเดี่ยวตนเอง คุยกันจนเป้าหมายชัด และพอจะเห็นแนวทางลงมือท�ำรางๆ ก็ ต้ อ งรี บ เข้ า สู่ Action Mode หาผู้ ก ล้ า อาสาลองท�ำ คืออย่ามัวตกหลุม ความฝัน หรื อเอาแต่ร�ำมวย ไม่ชกสักที จาก Dreaming Mode, Value Mode ต้ องรี บเข้ าสู่ Action Mode ในลัก ษณะของหาครู จ� ำ นวนน้ อย ที่ จ ะร่ ว มกั น เป็ น “แนวหน้ ากล้ า เป็ น ” (ไม่ใช่แนวหน้ ากล้ าตาย เพราะงานนี ้ส�ำเร็ จแน่ๆ แต่ต้องฟั นฝ่ า) ครู กลุ่มนี ้จึง เป็ นกลุ่ม “แนวหน้ ากล้ าเป็ นผู้ทดลอง” เป็ นการทดลองหา วิธีบรรลุฝัน หรื อ Purpose ที่เป็ น Common Purpose ร่ วมกัน ของครูทงโรงเรี ั้ ยน รวมทังเป็ ้ น Purpose ร่ วมกันของผู้ปกครอง ของผู้บริ หารเขตการศึกษา และของ อปท. (องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น) ที่โรงเรี ยนนันตั ้ งอยู ้ ด่ ้ วย นี่ คือยุทธศาสตร์ ที่ถูกต้ อง : ฝั น ร่ วมกั น ในระดั บ คุ ณ ค่ า ให้ เป็ น ฝั น ที่ ชัด เจน เห็ น เป้า หมายปลายทางที่ เ ป็ น รู ป ธรรม และพอมองเห็ น ทาง ด�ำเนินการรางๆ ไม่ค่อยชัด จึงต้ องทดลองท�ำน้ อยๆ ก่อน ท�ำในบางชันเรี ้ ยน ๔๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ในครู เพี ยงกลุ่มเล็กๆ ที่ เป็ นอาสาสมัคร เต็มใจที่ จะเป็ นผู้ริเริ่ ม แต่ก็ไม่ใช่ ท� ำ คนเดี ย ว ห้ องเรี ย นเดี ย ว อย่ า งโดดเดี่ ย ว มี ที ม ร่ ว มคิ ด ร่ ว มท� ำ และ แยกกันท�ำ แต่ร่วมกันเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ PLC เล็กๆ ได้ เริ่ มขึน้ แล้ ว เริ่ มขึน้ โดยไม่ ได้ บังคับ ไม่ สร้ าง ความอึดอัดให้ แก่ ครู ที่ยังไม่ ศรั ทธา หรื อไม่ อยากเปลี่ยนแปลง แต่ เริ่ม โดยกลุ่มครู ท่ ศี รั ทธา ที่ชอบงานท้ าทาย ชอบเป็ นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง PLC เล็ ก ๆ ที่ อ าจเรี ยกว่ า “หน่ อ PLC” นี่ แ หละ ที่ จ ะเป็ น เครื่ องมือสื่อสาร ท�ำความรู้จกั PLC ให้ แก่ ครูทงโรงเรี ั้ ยน แก่นกั เรี ยน ผู้ปกครอง ผู้บริ หารการศึกษาในเขตพื ้นที่ สมาชิกและผู้บริ หารของ อปท. (องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น) ที่โรงเรี ยนของเราตังอยู ้ ่ และแก่สงั คมในวงกว้ าง เราจะสื่อสาร ให้ คนรู้ จัก PLC ด้ วยการลงมื อ ท� ำ และสื่ อ สารด้ วย เรื่ องราวจากผลของการลงมือท�ำ บัญญัติ ๗ ประการเพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง ๑. จัดระบบ ๒. วัดผล ๓. สนับสนุนนทรัพยากร ๔. ตั้งคำ�ถามที่ถูกต้องเพื่อช่วยให้เป็นโรงเรียนที่ดี ๕. ผู้ทำ�ต้องให้ความสำ�คัญกับเรื่องที่มีคุณค่า ๖. เฉลิมฉลองความสำ�เร็จร่วมกัน...สัญญาณจากผู้บริหาร ๗. เผชิญหน้ากับผู้ต่อต้านด้วย Risk Managment ๔๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ต่อไปนี ้เป็ น “บัญญัติ ๗ ประการ” ที่ระบุไว้ ในหนังสือ ที่แนะน�ำครูใหญ่ และทีมแกนน�ำ ให้ หาทางด�ำเนินการ เพื่อจัดการการเปลี่ยนแปลง ๑. หาทางจัดโครงสร้ าง และระบบ เพื่อหนุนการเดินทาง หรื อ ขั บ เคลื่ อ นไปสู่ เ ป้ า หมายที่ ต้ อ งการ ที่ จ ริ ง PLC เป็ น การปฏิวตั ิโครงสร้ าง ระบบการท�ำงาน และวัฒนธรรมการท�ำงาน ในโรงเรี ยน จากระบบตัวใครตัวมัน มาเป็ นระบบทีม หรื อวัฒนธรรม รวมหมู่ (Collective Culture) โครงสร้ างของระบบงาน ระบบการจัด การเรี ย นการสอน จะต้ องปรั บ เปลี่ ย น ให้ เอื อ้ ต่ อ การช่ ว ยกั น ด�ำเนินการช่วยเหลือนักเรี ยน ที่เรี ยนล้ าหลัง ให้ เรี ยนตามเพื่อนทัน โดยที่ ก ารช่ ว ยเหลื อ นัน้ ท� ำ กัน เป็ น ที ม หลายฝ่ ายเข้ า มาร่ ว มกัน และกิ จ กรรมนั น้ ท� ำ อยู่ ภ ายในเวลาตามปกติ ของโรงเรี ย น ไม่ใช่สอนนอกเวลา รวมทั ง้ มี เ วลา ส� ำ หรั บ ครู ป ระชุ ม แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ประสบการณ์ การท�ำงานของตน เพื่อหาทางพัฒนาวิธีการท�ำงาน ให้ ได้ ผลดี ยิ่งขึ ้นไปเรื่ อยๆ เป็ นวงจร CQI ไม่ร้ ู จบ ๒. สร้ างกระบวนการวัด เพื่อติดตาม ความเคลื่อนไหว และท� ำ ความเข้ าใจ เรื่ องส� ำ คั ญ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การก� ำ หนด Progress Indicators ซึ่ ง ส� ำ หรั บ โรงเรี ยน ควรวั ด ที่ ผ ลการเรี ย น ของนั ก เรี ย น เวลาเรี ย นของนั ก เรี ย น ๔๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

เป็ น การเรี ย นแบบ Action Learning ร้ อยละเท่ า ไร ของเวลา ทัง้ หมด พฤติกรรมการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนแต่ละคน ร้ อยละของ นัก เรี ย นที่ มี ปั ญ หา ด้ า นการเรี ย น/ด้ า นปั ญ หาส่ ว นตัว ที่ ไ ด้ รั บ การดูแลอย่างทันท่วงที นอกจากนัน้ ยังต้ องมีตวั ชี ้วัด ความก้ าวหน้ า ของพฤติ ก รรมการท� ำ หน้ า ที่ ข องครู เช่ น การแบ่ ง สัด ส่ ว นเวลา ในการท� ำหน้ าที่ ของครู ระหว่าง การเตรี ยมออกแบบการเรี ยนรู้ (ร่วมกันเป็ นทีม) การท�ำหน้ าที่โค้ ช หรื อ Facilitator ให้ แก่นกั เรี ยน ที่เรี ยนแบบ PBL การชวนนักเรี ยนท�ำ Reflection เพื่อตีความผลของ การเรี ยนรู้แบบ PBL การรวมกลุม่ กับทีมครู เพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ จากประสบการณ์การท�ำงาน เป็ นต้ น หลักการส�ำคัญ ของการก� ำหนด Progress Indicators คือ ต้ องมีน้อยตัว (เช่นไม่เกิน ๑๐) เอาเฉพาะปั จจัยที่ส�ำคัญจริ งๆ เท่า นัน้ และต้ อ งไม่ ใ ช้ ใ นการให้ คุ ณ ให้ โ ทษครู เ ป็ นอั น ขาด เพราะนี่คือ เครื่ องมือของผู้ท�ำงานเปลี่ยนแปลง รู ปแบบการเรี ยนรู้ และเปลี่ ย นแปลงวั ฒ นธรรมในที่ ท� ำ งาน ไม่ ใ ช่ เ ครื่ อ งมื อ ของ การตรวจสอบของฝ่ ายบริ หารระดับใดๆ ทัง้ สิน้ Progress Indicators ที่ ส� ำ คัญ ที่ สุด คื อ Progress Indicators ของการเรี ย นรู้ ของนัก เรี ย นเป็ น รายคน ที่ ช่ ว ย ให้ ครู ร้ ู ว่ า นัก เรี ย นคนไหน เรี ย นล้ า หลัง คนไหนเรี ย นก้ า วหน้ า ไปมากกว่ากลุ่ม ๔๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

และเมื่ อมี การวั ด ความก้ าวหน้ า ของการเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ยนแล้ ว ก็ ต้ องมี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อมู ล ผลการวั ด นัน้ รวมทัง้ ร่ ว มกั น ปรึ ก ษาหารื อ ว่ า จะต้ อ งท� ำ อะไร อย่ า งไร เพื่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ แ ก่ นั ก เรี ย น ๓. เปลี่ ย นแปลงทรั พ ยากรเพื่ อ สนั บ สนุ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ทรั พ ยากรที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ “เวลา” ต้ องเปลี่ ยนแปลงการ จั ด การเวลา หรื อ การใช้ เวลาเรี ย นของนั ก เรี ย น และเวลา ท� ำ งานของครู เสี ย ใหม่ ให้ ท� ำ งานเพื่ อ การเรี ย นรู้ ของนัก เรี ย น ได้ ดี ก ว่ า แบบเดิ ม ๆ รวมทัง้ ให้ สามารถท� ำ งานแบบที ม ใช้ พลัง รวมหมู่ เพื่ อ แก้ ปั ญหายากๆ หรื อด� ำ เนิ น การต่ อ ประเด็ น ท้ าทาย และสร้ างสรรค์ ใ หม่ ๆ ๔. ถามค� ำ ถามที่ ถู ก ต้ อง ค� ำ ถามที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ โรงเรี ย น ส� ำ หรั บ ช่ ว ยให้ เ ป็ น “โรงเรี ย นที่ ดี ” มี เ พี ย ง ๔ ค� ำ ถาม เท่ า นั น้ คื อ (๑) ในแต่ ละช่ วงเวลาเรี ยน ต้ องการให้ นั ก เรี ย นได้ ค วามรู้ และทั ก ษะอะไรบ้ า ง (๒) รู้ ได้ อ ย่ า งไร ว่ า นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนได้ เ รี ย นรู้ ความรู้ และทั ก ษะที่ จ� ำ เป็ น นั น้ (๓) ท�ำ อย่ า งไร หากนั ก เรี ย นบางคนไม่ ไ ด้ เ รี ย นสิ่ ง นั น้ (๔) ท� ำ อย่ า งไรแก่ นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นเก่ งก้ าวหน้ าไปแล้ ว

๔๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๕. ท� า ตั ว เป็ นตั ว อย่ างในเรื่ องที่ มี คุ ณ ค่ า ข้ อนี ้ สื่ อ ต่ อ ผู้ น� า ซึ่ ง ตามในหนั ง สื อ เล่ ม นี ้ คื อ ครู ใ หญ่ หากครู ใ หญ่ ต้ องการให้ ครู เ อาใจใส่ การเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ ทุ ก คน เป็ นราย บุ ค คล ครู ใ หญ่ ต้ องหยิ บ ยกเรื่ อ งนี ้ มาหารื อ อย่ า งสม�่ า เสมอ หากครู ใหญ่ ต้ องการ ให้ ครู ท� า หน้ าที่ ช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ยน โดยท� า งานเป็ นที ม ก็ ต้ องจั ด เวลาให้ ครู ป รึ ก ษาหารื อ และ ตั ด สิ น ใจร่ ว มกั น รวมทั ง้ จั ด สิ่ ง สนั บ สนุ น กิ จ กรรมช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นช้ าเหล่ า นั น้ ๖. เฉลิ ม ฉลองความก้ าวหน้ า ก่ อ นจะเฉลิ ม ฉลอง ความก้ าวหน้ า ตามเป้ า หมายในการเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น ก็ ต้ อ งมี ห ลั ก ฐาน ยื น ยั น ความก้ าวหน้ านั น้ ซึ่ ง หมายความ ว่ า ต้ องมี ร ะบบตรวจสอบ หรื อ ประเมิ น ผล การเรี ย นรู้ นั น้ ที่ แม่ น ย� า น่ า เชื่ อ ถื อ และทั ง้ หมดนั น้ มาจากการที่ ค รู และฝ่ าย บริ ห าร มี เ ป้ า หมายร่ ว มกัน และมี ใ จจดจ่ อ เพื่ อ บรรลุเ ป้ า หมาย ร่ ว มกั น การเฉลิ ม ฉลองมี ป ระโยชน์ ยื น ยั น เป้ า หมาย และ ยื น ยัน ความมุ่ ง มั่น ในการด� า เนิ น การร่ ว มกั น

๔๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ที่ จ ริ ง การเฉลิ ม ฉลองความส� ำ เร็ จ เป็ นกระบวนการ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการเปลี่ ย นแปลง ตามเป้ า หมายที่ ก� ำ หนด เป็ น การส่ ง สัญ ญาณ ทัง้ ของความมุ่ง มั่น หรื อ การมี เ ป้ า หมาย ร่ วมกั น การด� ำ เนิ น การฟั นฝ่ า ความเคยชิ น เดิ ม ๆ ไปสู่ วิ ธี การใหม่ ที่ นั ก เรี ยนทุ ก คน ได้ รั บ ความเอาใจใส่ และ ช่ ว ย เ ห ลื อ ห า ก เ รี ย น ไ ม่ ทั น แ ล ะ ค รู ร่ ว ม กั น ท� ำ ง า น นี ้ เ ป็ น ที ม ร ว ม ทั ง้ ส่ ง สั ญ ญ า ณ ใ ห้ ส ม า ชิ ก ข อ ง ที ม เ ห็ น ว่ า ความส� ำ เร็ จ ที่ เ ป็ นรู ปธรรมเป็ นอย่ า งไร มี คุ ณ ค่ า อย่ า งไร ทัง้ ต่ อ ศิ ษ ย์ พ่ อ แม่ และต่ อ ครู ผู้เ ขี ย นหนัง สื อ แนะน� ำ วิ ธี ท� ำ ให้ การเฉลิ ม ฉลองความส� ำ เร็ จ เป็ นวั ฒ นธรรมการท� ำ งาน ของโรงเรี ย น ๔ ประการ ดัง นี ้ ๑) ระบุ เ ป้ า หมายของการเฉลิ ม ฉลองให้ ชั ด เจน ๒) ท� ำ ให้ ทุ ก คนมี ส่ ว นจั ด งานนี ้ ๓) ตี คว าม หรื ออธิ บายความส� ำ เร็ จที่ เกิ ดขึ น้ และ เชื่ อ มโยงกั บ Shared Purpose ของโรงเรี ย นอย่ า ง ชั ด เจน และชี เ้ ป้ า ความคาดหมายความส� ำ เร็ จ ที่ จ ะ เกิ ด ขึ น้ ต่ อ ไปในอนาคต ๔) ท� ำ ให้ เ ห็ น ว่ า ความส� ำ เร็ จ ที่ เ กิ ด ขึ น้ เป็ น ผลงานของคน หลายคน ระบุ ตัว บุ ค คล และบทบาทอย่ า งชั ด เจน

๔๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๗ . เ ผ ชิ ญ ห น้ า กั บ ผู้ ต่ อ ต้ า น เ ป้ า ห ม า ย ร่ ว ม ข อ ง ค ณ ะ ค รู ในภาษาของ การจั ด การสมั ย ใหม่ นี่ คื อ Risk Management ในการจัด การ การเปลี่ ย นแปลง ครู ใ หญ่ ต้ องวางแผนเตรี ย มพร้ อมที่ จ ะเผชิ ญ สภาพนี ้ ที่ มี ค รู บ างคน แสดงพฤติ ก รรมไม่ ร่ วมมื อ และท้ าทาย ต้ องไม่ ป ล่ อ ยให้ การท้ าทาย ท� า ลายเป้ า หมายที่ ท รงคุ ณ ค่ า นี ้ ฝั นชั ด เป้ า หมายปลายทางชั ด ยั ง ไม่ พ อ ต้ องมี “ไม้ บรรทั ด วั ด ความส� า เร็ จ” ที ล ะเปลาะๆ ในเส้ นทางของ การทดลองเปลี่ ย น รู ปแบบการเรี ยนรู้ ซึ่ ง จะเป็ นประเด็ น ของบทต่ อ ไป ในบทนี ้ ผู้ เขี ย นได้ เสนอ วิ ธี ส ร้ างความมุ่ ง มั่ น ร่ วม ในกลุ่ ม ครู ด้ วยแบบสอบถาม ที่ ถ ามค� า ถามหลายด้ าน ที่ จะช่ ว ยสร้ างความขั ด เจนในเป้ า หมาย วิ ธี ก าร และสภาพ การเปลี่ ย นแปลง เพื่ อ สร้ าง Commitment และการเห็ น คุณ ค่ า

๔๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

สรุ ป บทที่ ๓ : ค� า ถามเชิ ง เป้ า หมาย อุ ด มการณ์ หรื อ ความ มุ่ งมั่ น (Purpose) คื อ • โรงเรี ย นของเรา ด� า รงอยู่ เ พื่ อ อะไร ท� า ไมต้ องมี ไม่ มี ไ ด้ ไหม • เมื่ อ มี อ ยู่ ต้ องท� า อะไรให้ แก่ สัง คม แก่ ชุ ม ชน • อย่ า งไร เรี ย กว่ า ท� า หน้ าที่ ไ ด้ ดี น่ า ภาคภู มิ ใ จ • เราจะช่ ว ยกั น ท� า ให้ โรงเรี ย น ของเราท� า หน้ าที่ ได้ ดี เ ช่ น นั น้ ได้ อย่ า งไร อย่ า ตัง้ ค� า ถามว่ า เราจะเปลี่ ย นแปลงได้ อย่ า งไร แต่ ตัง้ ให้ ลึ ก และถามเชิ ง คุณ ค่ า ว่ า ยุบ โรงเรี ย นของเราได้ ไ หม ท� า ไมจึ ง ต้ อ งมี โ รงเรี ย น ของเรา คุ ณ ค่ าของโรงเรี ย นของเรา อยู่ ท่ ี ไ หน ประเมิ น ได้ อ ย่ า งไร จะช่ ว ยกั น ยกระดับ คุ ณ ค่ า ที่ แ ท้ จริ ง ได้ อย่ า งไร

๔๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๔ â¿กัส + เป‡าหมาย ที่การเรียนรู้ (äม่ใช่การสอน)

๕๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“…กระบวนการร่วมกันเพื่ อ “เห็นช้าง ทำั้ ง ตั ว ” ในเรื่ อ ง เป‡ า หมายการเรี ย นรู ้ ทำี่ จั ด ใ ห ้ แ ก ่ นั ก เ รี ย น แ ล ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น เรี ย นรู ้ ความเข้ า ใจ«ึ่ ง กั น และกั น เพื่ อ ให้ เข้ า ใจชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น …”

ตอนที่ ๔ นี จ้ ับความจาก Chapter 3 : Create a Focus on Learning

๕๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

อ ย่ า ลื ม ว่ า ค รู มี ง า น ม า ก อ ยู่ แ ล้ ว กิ จ ก ร ร ม P L C ต้ อ ง ไ ม่ เ พิ่ ม ภ า ร ะ แ ก่ ค รู แ ล ะ ค รู ทุ ก ค น มี สิ่ ง ที่ เ ข า ภู มิ ใ จ ร ะ วั ง การเปลี่ ยนแปลง มี ผ ลไปกระทบศั ก ดิ์ ศรี ของเขา หรื อกล่ าว ในทางตรงกั น ข้ าม PLC ต้ องเข้ าไปช่ วยเพิ่ มพู น ศั ก ดิ์ ศรี ของ ความเป็ นครู เพื่ อ พุ่ง เป้ า ของ PLC ไปที่ การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น จึ ง มี ค� ำ ถาม หลัก ๒ ค� ำ ถาม ส� ำ หรั บ PLC ๑) ต้ อ งการให้ นั ก เรี ย นเรี ย นอะไร ๒) รู้ ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ว่ า นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น ไ ด้ เ รี ย น รู้ สิ่ ง นั ้น ๆ หลั ก การส� ำ คั ญ คื อ นั ก เรี ยนทุ ก คนได้ เรี ยน เท่ า ที่ จ� ำ เป็ น (Essential Learning) ตามเป้ า หมาย อัน ทรงพลัง (Power Standards) ไม่ ใ ช่ เ รี ย นให้ จบ ตามที่ ก� ำ หนดในหลัก สู ต ร เพื่ อให้ การเรี ยนรู้ ของศิ ษ ย์ เน้ นที่ Essential Learning มี เ ครื่ อ งมื อ ในการเลื อ กความรู้ ที่ จ� ำ เป็ นจริ ง ๆ ๒ ประการ ดัง นี ้ ๕๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๑) ใช้ เกณฑ์ ๓ ค� ำ ถาม (๑) ความรู้ นี ้ จะคงทนจดจ� ำ ไ ป ใ น อ น า ค ต ห รื อ ไ ม่ ( ๒ ) ค ว า ม รู้ นี ้ จ ะ ช่ ว ย เป็ น พื น้ ฐานต่ อการเรี ย นรู้ เรื่ องอื่ นๆ หรื อ ไม่ (๓) ความรู้ นี ้ จะช่ วยความส� ำ เร็ จ ในการเรี ย นรู้ ในชั น้ ต่ อ ไปหรื อ ไม่ ๒) ใช้ การประชุ ม ระดมความคิ ด ในกลุ่ ม ครู ที่ เ ป็ นสมาชิ ก PLC ด้ ว ยบัต ร ๓ ค� ำ Keep, Drop, Create ท� ำ อย่ า ง น้ อยทุ ก ๆ ๓ เดื อ น ครู ที่ เ ป็ นสมาชิ ก PLC ท� ำ กระบวนการร่ วมกั น เพื่ อ “เห็ น ช้ าง ทั ้ง ตั ว ” ในเรื่ องเป้ าหมาย การเรี ยนรู้ ที่ จั ด ให้ แก่ นั ก เรี ยน และ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ความเข้ า ใจซึ่ ง กั น และกั น เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจชั ด เจน ยิ่ งขึ ้น ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ ข้ าใจ ส่ ว นของวิ ช า หรื อชั น้ เรี ยน ที่ ต นรั บ ผิ ด ชอบ เท่ า นัน้ แต่ เ ข้ า ใจส่ ว นของวิ ช า และชัน้ อื่ น ๆ ด้ ว ย คื อ เข้ า ใจภาพรวมจริ ง ๆ และเข้ าใจลึ ก ถึ ง ระดั บ คุ ณ ค่ า และเข้ าใจจน มองเห็ น ล� ำ ดั บ ความ ส� ำ คัญ มองเห็ น ประเด็ น ของ Formative Assessment ที่ จ ะด� ำ เนิ น การเพื่ อ ช่ ว ยปรั บ ปรุ ง กระบวนการเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น ผมขอเพิ่ ม เติ ม จากการตี ค วามของผมเองว่ า การที่ สมาชิ ก PLC “เห็ น ช้ างทั ง้ ตั ว ” นั ้น ต้ อ งเห็ น จากมุ ม มอง หรื อ ความเข้ าใจ ของศิ ษ ย์ ด้ ว ย ไม่ ใช่ จากมุ ม มองของครู เ ท่ า นั ้น ๕๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ใ ช้ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นั ก เ รี ย น (Formative Assessment) ที่ ท� ำอย่ า งดี มี คุ ณ ภาพ และบ่ อ ย เป็ นเครื่ องมื อ ช่ ว ยการเรี ยนรู้ โดยเข้ าใจร่ วมกั น อย่ า ง ชั ด เจนว่ า การทดสอบแบบนี ้ไ ม่ ใช่ เพื่ อการตั ด สิ น ได้ -ตก เป็ น คนละเป้ า หมาย กั บ การทดสอบระดั บ ประเทศ (ที่ เ ป็ น Summative Evaluation) แต่ เ ป็ นการทดสอบ เพื่ อช่ วยการเรี ยนรู้ ของ นั ก เรี ย น ให้ นั ก เรี ย นรู้ สถานะ การเรี ย นรู้ ของตน เป็ นเครื่ องมื อ กระตุ้ น การเรี ย นรู้ และให้ ค รู ร้ ู ว่ า มี ศิ ษ ย์ ค นไหนบ้ า ง ที่ ต้ อ งการ ความช่ วยเหลื อ เป็ นพิ เ ศษในวิ ช าใด รวมทั ง้ เป็ นการ Feedback แ ก่ ค รู ว่ า ค ว ร ป รั บ ป รุ ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ ต น ใ ห้ แ ก่ ศิ ษ ย์ อย่ า งไรบ้ า ง วิ ธี ก ารจั ด การประเมิ น ความก้ าวหน้ า ของการเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ย น เป็ นประเด็ น ส� ำ คั ญ ของการเรี ย นรู้ ร่ วมกั น ของครู ใน PLC คื อ เป็ นเรื่ องที่ ครู จ ะต้ อ งเรี ย นรู้ เรื่ อยไปไม่ มี วั น จบ และ ต้ อ งเรี ย นรู้ ร่ วมกั น เป็ นกลุ่ ม เอาประสบการณ์ จริ ง มาแลกเปลี่ ย น เรี ย นรู้ กั น เพื่ อ หาวิ ธี ท� ำ ให้ การประเมิ น มี พ ลั ง กระตุ้ นแรงบั น ดาลใจ ในการเรี ยนรู้ ของศิ ษ ย์ รวมทั ง้ เพื่ อ เป็ นประเด็ น การเรี ยนรู้ ของครู ในการท� ำ ความเข้ าใจ “จิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู้ ” (Cognitive Psychology) ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การประเมิ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง วิ ธี ก ารท� ำ ให้ เกิ ด ปั จ จั ย ด้ านจิ ต วิ ท ยาเชิ ง บวก ๕๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

มี ผ ลการวิ จั ย มากมาย (ในสหรั ฐ อเมริ ก า) ว่ า การด� ำ เนิ น การ และพั ฒ นา กระบวนการ ประเมิ น ความก้ าวหน้ า ในการเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ย น ที่ ท� ำ เป็ นที ม โดยครู ที่ ส อนชั น้ เดี ย วกั น ผ่ า นการปรึ ก ษา ห า รื อ ก า ร ใ ช้ วิ ธี ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ บ บ ที่ ร่ ว ม กั น พั ฒ น า แ ล ะ น� ำ ผ ล การประเมิ น มาร่ ว มกั น ตี ค วาม เพื่ อ น� ำ ผลไปใช้ ปรั บ ปรุ ง การจั ด การ เรี ย นการสอน รวมทัง้ ใช้ ปรั บ ปรุ ง วิ ธี ก ารประเมิ น จะท� ำ ให้ ผลการเรี ย น ของนั ก เรี ย นดี ก ว่ า วิ ธี ก ารที่ ค รู ต่ า งคนต่ า งท� ำ คณะผู้ เขี ย นหนั ง สื อ เล่ ม นี ้ มี ค วามเห็ น ที่ รุ นแรง ต่ อ การที่ ค รู ต้ องท� ำ งานประเมิ น เป็ นที ม โดยใช้ แบบประเมิ น เดี ย วกั น ที่ ร่ ว มกั น พั ฒ นาขึ น้ ใช้ ต้ องไม่ ย อมให้ ครู ค นใดคนหนึ่ ง แยกตั ว โดดเดี่ ย วออก ไปท� ำ คนเดี ย ว เพราะผลการวิ จั ย ชี ช้ ั ด ว่ า การกระท� ำ เช่ น นั น้ จะเป็ น โทษต่ อ นั ก เรี ย น เพราะผลการเรี ย นจะไม่ ดี เ ท่ า ด� ำ เนิ น การประเมิ น เป็ นกลุ่ ม “ . . . ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ ่ ม ข อ ง ค รู ใ น ก า ร พั ฒ น า ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ บ บ F o r m a t i v e Assessment อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผ่ า นการ ปฏิ บั ติ จ ริ ง คื อ กระบวนการเปลี่ ย นแปลง พฤติกรรม และความคุ้นเคยของครู ให้ค่อยๆ เปลี่ยนการทำ�หน้าที่ “ครูสอน” (Teacher) มาเป็น “ครูฝึก” (Coach)...” ๕๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

จุ ด ที่ ส� ำ คั ญ คื อ การที่ ค รู ร่ ว มกั น เป็ นที ม เอาใจใส่ ก ารประเมิ น การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น จะเป็ นการสร้ างวั ฒ นธรรม ที่ เ น้ นการเรี ย นรู้ (Learning) ไปในตัว เปลี่ ย นจากวัฒ นธรรม ที่ เ น้ น การสอน (Teaching) ที่ เ ราคุ้ นเคย ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ลุ่ ม ข อ ง ค รู ใ น ก า ร พั ฒ น า ก า ร ป ร ะ เ มิ น แบบ Formative Assessment อย่ า งต่ อ เนื่ อง ผ่ านการปฏิ บั ติ จ ริ ง คื อ กระบวนการเปลี่ ยนแปลงพฤติ ก รรม และความคุ้ นเคยของ ครู ให้ ค่ อยๆ เปลี่ ย นการท� ำ หน้ าที่ “ครู ส อน” (Teacher) มาเป็ น “ครู ฝึ ก” (Coach) โดยไม่ ร้ ู สึ ก ว่ า ต้ องฝื นใจ จะเห็ น ว่ า กระบวนการรวมกลุ่ ม ครู ร่ ว มกั น พัฒ นา ปฏิ บัติ และ เรี ย นรู้ การประเมิ น การเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ก็ คื อ การตอบ ค� ำ ถาม (๑) เราต้ องการให้ ศิ ษ ย์ เรี ย นรู้ อะไรบ้ าง และ (๒) รู้ ได้ อย่ า งไร ว่ า ศิ ษ ย์ ไ ด้ เรี ยนรู้ ตามเป้ า หมายในข้ อ (๑) จริ ง เป็ นการตั ง้ ค� ำ ถาม และตอบค� ำ ถามทัง้ สอง ซ� ำ้ แล้ ว ซ� ำ้ เล่ า วนเวี ย นเป็ นวัฏ จั ก ร มี ผ ลให้ เกิ ด การยกระดับ การเรี ย นรู้ ทัง้ ของศิ ษ ย์ และของครู ปั ญหาการเรี ยนรู้ ในโรงเรี ยน โดยทั่ ว ไปไม่ ไ ด้ เกิ ด จากสอน น้ อ ยไป แต่ เ กิ ด จากสอนมากไป แต่ นัก เรี ย นได้ เ รี ย นรู้ น้ อ ย ยุ ท ธศาสตร์ ของการปฏิ รู ป การเรี ย นรู้ คื อ สอนน้ อย เรี ย นมาก เรื่ อ งราวใน บทนี เ้ น้ นที่ ก ารจั ด ให้ นั ก เรี ยน ได้ เรี ยนรู้ ประเด็ น ที่ ส� ำ คั ญ ไม่ ใ ช่ เ รี ยน แบบเหวี่ ย งแห ซึ่ ง จะท� ำ ให้ การเรี ย นรู้ เกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลน้ อย ๕๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

สิ่ ง ที่ จ ะต้ องเอาชนะ ก็ คื อ การที่ ค รู ห ลงจั ด การสอน ในเรื่ อง ที่ ต นชอบ ไม่ ใ ช่ จั ด ให้ ศิ ษ ย์ เรี ย นรู้ เรื่ อ งที่ ส� า คัญ ต่ อ ศิ ษ ย์ อย่ า หลงที่ ก ารสร้ างผลงาน หาทางลั ด โดยการซื อ้ บริ การ วิ ธี จั ด การเรี ยนรู้ เอามาให้ ครู ท� า กระบวนการ เพราะจะไม่ มี ผ ล ต่ อ เนื่ อ งยั่ ง ยื น การเดิ น ทาง PLC ที่ ค รู ร่ วมกั น คิ ด ร่ วมกั น ท� า และร่ วมกั น ตี ค วาม ท� า ความเข้ าใจผลที่ เกิ ด ขึ ้น น� า มาคิ ด หาวิ ธี ป รั บปรุ ง การเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ วนเวี ย นเป็ นวั ฏ จั ก รไม่ รู้ จบ เป็ นหนทางที่ ต่ อ เนื่ องยั่ งยื น ของการพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น

๕๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๕ เมื่อนักเรียนบางคนเรียนäม่ทน ั

๕๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...โรงเรี ย นต้ อ งออกแบบ ระบบตรวจสำอบ หาเด็ ก ทำี่ เ ริ่ ม เรี ย นล้ า หลั ง หรื อ äม่ สำ นใจ เรี ย น และมี ก ระบวนการ ช่ ว ยเหลื อ ให้ เ ขา กลั บ มาเข้ า กลุ ่ ม เรี ย นทั น เพื่ อ นäด้ อี ก ...”

ตอนที่ ๕ นี จ้ ับความจาก Chapter 4 : How Will We Respond When Some Students Don’t Learn? ๕๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

เริ่ มด้ วย เรื่ องเล่ า ว่ า โรงเรี ยนมั ธ ยมแห่ ง หนึ่ ง ชั น้ ม. ๔ ที่ มี ครู ค ณิ ต ศาสตร์ ๔ คน ที่ มี บุ ค ลิ ก เฉพาะตัว คนละแบบ ๔ คน ก็ ๔ แบบ ครู ก กดคะแนน นั ก เรี ยนตกมาก เพราะถ้ าไม่ ส่ ง การบ้ าน ตรงตามเวลา จะได้ ศู น ย์ “เพื่ อ ฝึ ก ความรั บ ผิ ด ชอบ” แต่ เ มื่ อ ไปสอบรวม ของรั ฐ จะมี นั ก เรี ย นที่ ไ ด้ คะแนนเด่ น จ� ำ นวนมาก ครู ข ใจดี สอนสนุ ก นั ก เรี ย นได้ คะแนน A และ B เท่ า นั น้ แต่ เมื่ อ ไปสอบรวมของรั ฐ มี นั ก เรี ย นสอบตกมาก ครู ค เลื อ กนั ก เรี ย น เมื่ อ สอนไปได้ ระยะหนึ่ ง ก็ ข อย้ ายนั ก เรี ย น ให้ ลงไปเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ชั น้ ต�่ ำ ลงไป “เพราะพื น้ ฐานคณิ ต ศาสตร์ ไม่ ถึ ง ระดั บ ม. ๒” ผลการสอบรวมของรั ฐ นั ก เรี ย นที่ เ หลื อ อยู่ ใ นชั น้ ทุ ก คนจะได้ คะแนนสู ง กว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของทัง้ รั ฐ ครู ง เป็ นครู ที่ ค รู ใ หญ่ ชื่ น ชอบที่ สุ ด เพราะฝึ กนั ก เรี ยนให้ มี ความรั บ ผิ ด ชอบ และเอาใจใส่ นั ก เรี ยนเป็ นรายคน คนไหนเรี ยน ล้ า หลัง ครู จ ะนั ด มาพบ และสอนนอกเวลา แต่ ค รู ง ก็ โ ดนแม่ ข องนั ก เรี ย นร้ องเรี ย น ว่ า ดึ ง เด็ ก ไว้ สอนซ่ อ ม นอกเวลา โดยที่ แ ม่ ต้ องการให้ ลู ก ชาย รี บ กลั บ บ้ าน ไปดู แ ลน้ องสาว เพราะแม่ ท� ำ งานกลับ บ้ านค�่ ำ และที่ บ้ านไม่ มี ค นอื่ น อี ก แล้ ว ๖๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช



ครู ใ หญ่ ของโรงเรี ย นนี จ้ ะท� ำ อย่ า งไร?

วิ ธี แ ก้ ปั ญหานั ก เรี ย น บางคนไม่ เรี ย น หรื อ เรี ย นช้ า ที่ ไ ด้ ผลยั่ งยื น คื อ ต้ อ งมี ร ะบบช่ วยเสริ ม การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น ใน ช่ ว งเวลาปกติ นั ้น เอง โดยที่ ร ะบบนั ้น จั ด เป็ นที ม เป็ นกิ จ กรรมของ โรงเรี ย น ที่ ค รู นั ก เรี ย น และภาคี ท่ ี เ กี่ ย วข้ อ งอื่ น ๆ ร่ วมกั น ลงมื อ ท�ำ หรื อ กล่ า วว่ า PLC ของครู ร่ ว มกั น คิ ด และร่ ว มกั น ท� ำ ท� ำ อย่ า งเป็ นระบบ ภายใต้ แนวคิ ด ว่ า นั ก เรี ยนแตกต่ า งกั น นั ก เรี ย นบางคน เรี ย นรู้ ได้ ช้ ากว่ า และต้ องการความช่ ว ยเหลื อ ก็ จ ะ มี ร ะบบช่ ว ยเหลื อ ทั ง้ จากครู เพื่ อ นนั ก เรี ย น และผู้ ปกครองทางบ้ าน จนในที่ สุ ด สามารถเรี ยนได้ ทั น กลุ่ ม เพื่ อ นๆ คื อ มี PLC เพื่ อ การนี ้ ที่ น อกจาก นั ก เรี ย นได้ รั บ การดู แ ลที่ ดี ครู ก็ ไ ด้ เรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ด้ วย ครู ไ ด้ เรี ย นรู้ ตัง้ แต่ ก ารร่ ว มกั น คิ ด ระบบตรวจสอบ ว่ า นั ก เรี ย น คนไหน ที่ ก� ำ ลั ง เรี ย นไม่ ทั น เพื่ อ น และต้ องการความช่ ว ยเหลื อ พิ เ ศษ หรื อที่ จ ริ ง เป็ นการร่ วมกั น พั ฒ นาระบบตรวจสอบ การเรี ยนรู้ ของ นั ก เรี ย นทั ง้ ระบบ ที่ เ รี ย กว่ า Formative Assessment เพื่ อ ประโยชน์ ในการเอาใจใส่ และช่ ว ยเหลื อ นัก เรี ย น ที่ ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ พิ เ ศษ โดยต้ อ งระมัด ระวัง ว่ า ความช่ ว ยเหลื อ พิ เ ศษนัน้ ไม่ ใ ช่ เ ป็ น การลงโทษให้ ต้ องเรี ย นเพิ่ ม แต่ เ ป็ นการช่ ว ยให้ ได้ เรี ย นรู้ อย่ า งแท้ จริ ง

๖๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ระบบช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย น ที่ เ รี ย นอ่ อ นนี ้ มี ลัก ษณะที่ เ ป็ นไปตาม ตัว ย่ อ ว่ า “SPEED” Systematic หมายถึ ง มี ก ารด� ำ เนิ น การ เป็ นระบบทัง้ โรงเรี ย น ไม่ ใ ช่ เ ป็ นภาระของครู ประจ� ำ ชั น้ แต่ ล ะคน และมี ก ารสื่ อ สาร เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร (ใคร ท� ำ ไม อย่ า งไร ที่ ไ หน เมื่ อ ไร) ไปยั ง ทุ ก คน ได้ แก่ ครู (ที ม ของโรงเรี ย น) พ่ อ แม่ และนั ก เรี ย น Practical การด� ำ เนิ น การช่ ว ยเหลื อ เป็ นไปได้ ตามทรั พ ยากร ที่ มี อ ยู่ ของโรงเรี ย น (เวลา พื น้ ที่ ครู และวั ส ดุ ) และด� ำ เนิ น การได้ ต่ อ เนื่ อ งยั่ง ยื น ทัง้ นี ้ ไม่ ต้ อ งการทรั พ ยากรใดๆ เพิ่ ม แต่ ต้ อ งมี ก ารจัด การ ทรั พ ยากรเหล่ า นั น้ แตกต่ า งไปจากเดิ ม นี่ คื อ โอกาส สร้ างนวัต กรรม ในการจั ด การทรั พ ยากรของโรงเรี ย น Effective ระบบช่ ว ยเหลื อ ต้ องใช้ ได้ ผลตั ง้ แต่ เ ริ่ ม เปิ ดเทอม มี เ กณฑ์ เ ริ่ ม เข้ าระบบ และออกจากระบบที่ ยื ด หยุ่ น เพื่ อ ให้ เหมาะสม ส� ำ หรั บ ช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นที่ แ ตกต่ า งกั น เพื่ อ สร้ างการเรี ย นรู้ ที่ ไ ด้ ผลดี แก่ นั ก เรี ย นทุ ก คน Essential ระบบช่ ว ยเหลื อ ต้ องท� ำ แบบโฟกั ส ที่ ป ระเด็ น เรี ยนรู้ ส� ำ คั ญ ตาม Learning Outcome ที่ ก� ำ หนดโดยการทดสอบ ทัง้ แบบ Formative และ Summative Directive ระบบช่ ว ยเหลื อ ต้ องเป็ นการบัง คั บ ไม่ ใ ช่ เ ปิ ดให้ นั ก เรี ย นสมั ค รใจ ด� ำ เนิ น การในเวลาเรี ย นตามปกติ และครู หรื อ พ่ อ แม่ ไ ม่ มี สิ ท ธิ์ ข อยกเว้ นให้ แก่ นั ก เรี ย นคนใด ๖๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...ต้ อ งมี ร ะบบช่ ว ยเสริ ม การเรี ย นรู ้ ข อง นักเรียน ในช่วงเวลาปกติ โดยจัดเป็นทีม เป็น กิจกรรมของโรงเรียน ที่ครู นักเรียน และภาคี ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ร่วมกันลงมือทำ�...”

ตัว อย่ า งของโรงเรี ย น ในสหรั ฐ อเมริ ก า ที่ ส ร้ างระบบช่ ว ยเหลื อ ขึ น้ ใช้ อย่ า งได้ ผล ค้ นได้ ที่ WWW.ALLTHINGSPLC.INFO เลื อ กที่ หัว ข้ อ Evidence and Effectiveness หั ว ใจ คื อ โรงเรี ยนต้ องตั ง้ เป้ า หรื อความคาดหวั ง ต่ อ ผล การเรี ย นของนั ก เรี ย นไว้ สู ง และสร้ างบรรยากาศ ที่ ทุ ก คนในโรงเรี ย น มี เ ป้ า หมายนั น้ ร่ วมกั น มี ป ณิ ธ านอั น แรงกล้ า ที่ จ ะช่ ว ยกั น ท� ำ ให้ บรรลุ เ ป้ า หมาย และหมั่ น ตรวจสอบการเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย นแต่ ล ะคน ว่ า ด� ำ เนิ น ไปตามเป้ า หมาย เป็ นระยะๆ หรื อไม่ นั ก เรี ยนคนใดเริ่ ม ล้ า หลัง ระบบช่ ว ยเหลื อ จะเข้ าไปทัน ที เข้ าไปด้ ว ยท่ า ที ข องการช่ ว ยกั น โดยมี เ ป้ า หมาย ให้ กลับ มาเรี ย นทัน ได้ อี ก มี ผ ลการวิ จั ย มากมาย ที่ บ อกว่ า หากต้ องการให้ นั ก เรี ยน ทุ ก คนเรี ย นส� ำ เร็ จ ต้ องมี ร ะบบช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นบางคน ที่ ต้ องการ ความช่ ว ยเหลื อ บางเรื่ อง ในบางเวลา โดยระบบช่ ว ยเหลื อ นั น้ ต้ อง ด� ำ เนิ น การอย่ า งเป็ นทางการ โดยโรงเรี ยน บริ หารโดยโรงเรี ยน โดยพ่ อ แม่ และชุ ม ชนต้ องเข้ ามาช่ ว ย ๖๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

กล่ า วอี ก นั ย หนึ่ ง โรงเรี ย นทุ ก โรงเรี ย นต้ องออกแบบ ระบบ ตรวจสอบหาเด็ ก ที่ เ ริ่ มเรี ย นล้ าหลั ง หรื อ ไม่ สนใจเรี ย น และมี กระบวนการช่ ว ยเหลื อ ให้ เ ขากลั บ มาเข้ า กลุ่ ม เรี ย นทั น เพื่ อ นได้ อี ก โดยมี ก ารออกแบบวิ ธี ก ารช่ ว ยเหลื อ ที่ ยื ด หยุ่ น ปรั บ ให้ เหมาะสม ต่ อ แต่ ล ะกรณี ไ ด้ การด� า เนิ น การทัง้ หมดนั น้ ท� า โดย PLC และมี ก ารตรวจ สอบ ทบทวน ปรั บ ปรุ ง ระบบ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งสม�่ า เสมอ โดยกระบวนการ PLC ผมขอเพิ่ ม เติ ม ว่ า ในสั ง คมไทย ต้ องด� า เนิ นการเรื่ องนี ้ อย่ า งระมั ด ระวั ง อย่ า ให้ เ ด็ ก รู้ สึ ก ว่ า ถู ก ลงโทษ อย่ า ให้ เ ด็ ก หรื อ พ่ อ แม่ เสี ย หน้ า ต้ อ งสร้ างบรรยากาศว่ า การเรี ย นล้ าในบางวิ ช า ในบางช่ ว งเป็ นเรื่ องธรรมดา แต่ ต้ อ งมี ก ารแก้ ไ ข เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ปั ญ หา นั ้น ลุ ก ลามก่ อผลร้ าย ต่ อตั ว นั ก เรี ย นคนนั ้น เอง กลายเป็ นคนที่ ล้ มเหลวต่ อ การเรี ย นในที่ สุ ด ซึ่ ง อาจมี ผ ลต่ อ ชี วิ ต มากมาย โ ร ง เ รี ย น ต้ อ ง ตั ้ง เ ป้ า ห ม า ย ไ ว้ ว่ า นั ก เ รี ย น ป ก ติ ทุ ก ค น สามารถบรรลุ Learning Outcome ที่ ก� า หนด ได้ ตามเวลาที่ ก� า หนด และเป็ นหน้ าที่ ของทุ ก คนในโรงเรี ยน (และที่ บ้ าน) ที่ จะช่ ว ยกั น สนั บ สนุ น ให้ เป้ า หมายนี บ้ รรลุ ผ ล

๖๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

การด� า เนิ น การนี ้ เป็ นของใหม่ ย่ อ มมี ปั ญ หาอุ ป สรรคมากมาย และจะมี ค นคั ด ค้ าน หรื อมี ข้ ออ้ างต่ า งๆ นาๆ เพราะยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น อยู่ กั บ กระบวนทั ศ น์ เ ดิ ม ความเคยชิ น เดิ ม ๆ และครู บ างคนก็ ไ ม่ ข ยั น ไม่ อ ดทน ไม่ ต้ อ งการเรี ย นรู้ แต่ ห ากต้ อ งการให้ นัก เรี ย นบรรลุผ ลส� า เร็ จ ตาม Learning Outcome ของ 21st Century Skills ไม่ มี ท างเลื อ กอื่ น ต้ องใช้ PLC ด� า เนิ น การ อย่ า ลื ม ว่ า PLC มี อุ ด มการณ์ ที่ ก ารเรี ยนรู้ ของครู โดยการ รวมตัว กั น ท� า สิ่ ง ที่ ย ากหรื อ ท้ าทาย การก� า หนด Essential Learning แก่ ศิ ษ ย์ การวั ด ความก้ า วหน้ า ของการเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ เป็ นรายคน ตาม Learning Outcome ที่ ร่ วมกั น ก� า หนด และด� า เนิ น การช่ วย นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นล้ าหลั ง ให้ ก ลั บ มาเรี ย นทั น กลุ่ ม เป็ นการเรี ย นรู้ ที่ ไ ม่ มี วั น จบสิ น้ จึ ง เป็ นประเด็ น ส� า คั ญ ยิ่ ง เป็ นหั ว ใจของสาระ ของการเรี ย นรู้ จากการลงมื อ ท� า ใน PLC

๖๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๖ สร้างวั²น¸รรมความร่วมมือ

๖๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . ทำ�ä ม จึ ง ต ้ อ ง เ ป ลี่ ย น วั ² น ¸ ร ร ม ก า ร ท�ง า น ข อ ง ค รู แ บ บ ต ่ า ง ค น ต ่ า ง ทำ� ม า เ ป ็ น ทำ�ง า น แ บ บ P L C ค�ต อ บ คื อ เ พื่ อ บ ร ร ลุ เ ป ‡ า ห ม า ย ที่ ยิ่ ง ใ ห ญ ่ ร ่ ว ม กั น ทำี่ ทำí า คนเดี ย ว äม่ สำ ามารถบรรลุ ä ด้ . ..”

ตอนที่ ๖ นี ้ จั บ ความจาก Chapter 5 : Building the Collaborative Culture of a Professional Learning Community

๖๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

บทนี เ้ ริ่ มด้ ว ย เรื่ องเล่ าเป็ นกรณี ศึ ก ษา เรื่ องเล่ า - ปั ญหา ครู ใ หญ่ โ รงเรี ย นระดับ ป. ๖ - ม. ๒ (ที่ เ รี ย กว่ า Middle School) ในสหรั ฐ อเมริ ก าแห่ ง หนึ่ ง ที่ ไ ด้ บริ ห ารความร่ ว มมื อ (Collaboration) ของครู อ ย่ า งเอาใจใส่ มี ก ารก� ำ หนดที ม ร่ ว มมื อ ในครู แ ต่ ล ะระดั บ ชั น้ โดยจั ด ที ม คละสาขาวิ ช า มี ทั ง้ ครู วิ ช าคณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ สัง คมศาสตร์ ภาษาและศิ ล ปะ จั ด เวลาให้ มาพบปะพู ด คุ ย กั น ทุ ก วัน ในเวลาท� ำ งาน จั ด การฝึ กอบรมครู เ หล่ า นี ้ ให้ มี ทั ก ษะความร่ ว มมื อ ทัก ษะการบรรลุ ฉั น ทามติ และทัก ษะการแก้ ไขความขั ด แย้ ง ครู ใ หญ่ ย� ำ้ ความส� ำ คัญ ของความร่ ว มมื อ ในทุ ก ครั ง้ ที่ ป ระชุ ม ครู แต่ ค รู ใหญ่ ร อแล้ วรอเล่ า ว่ า เมื่ อ ไร ผลลั พ ธ์ การเรี ยนรู้ ของ นั ก เรี ยนจะกระเตื อ้ งขึ น้ รออยู่ ถึ ง ๓ ปี ก็ ไ ม่ มี ผ ลให้ เห็ น ครู ใหญ่ แปลกใจมาก และต้ องการรู้ ว่ า ตนท� ำ อะไรผิ ด หรื อ บกพร่ อ งที่ ใ ด ครู ใ หญ่ ส่ ง แบบสอบถาม เพื่ อ ขอความเห็ น จากครู ว่ า เหตุ ใ ด ความพยายามท� ำ งานเป็ นที ม ของเหล่ า ครู จึ ง ไม่ น� ำ ไปสู่ ผ ลดี ต่ อ ผลลัพ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น ๖๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

แบบสอบถาม ความพึ ง พอใจของครู ให้ ผลว่ า ครู เกื อบ ทั ง้ หมดพึ ง พอใจมาก ที่ สั ม พั น ธภาพของครู ดี ม าก แต่ ค รู ผ้ ู เชี่ ย วชาญ เฉพาะสาขา (ศิ ล ปะ ดนตรี พลศึก ษา เทคนิ ค การศึก ษา การศึก ษาพิ เ ศษ) บ อ ก ว่ า ก า ร ถู ก จั บ เ ข้ า ที ม ร่ ว ม มื อ กั บ ส า ข า อื่ น นั ้น ไ ม่ ค่ อ ย เ กิ ด ประโยชน์ แต่ ใ นภาพรวม บรรยากาศการท� ำ งานดี ม าก ครู ใหญ่ จึ ง เข้ าชั น้ เรี ยน ไปดู ด้ วยตา และสั ม ผั ส บรรยากาศ การท� ำ งาน ของที ม ครู ด้ วยตนเอง พบว่ า ที ม ครู ชั น้ ม. ๑ หารื อ กั น เพื่ อ แก้ ปั ญ หานั ก เรี ย นคนหนึ่ ง ที่ มี ปั ญ หาความประพฤติ รุ น แรงขึ น้ และ ตกลงกั น ว่ า จะเชิ ญ ผู้ ปกครองมาหารื อ ที ม ครู ชั น้ ม. ๒ หารื อกั น เรื่ อ งนั ก เรี ย นมาโรงเรี ย นสาย ที ม ครู ชั น้ ม. ๒ อี ก ที ม หนึ่ ง หารื อ วิ ธี ตัด คะแนนนั ก เรี ย น ที่ ส่ ง การบ้ านช้ ากว่ า ก� ำ หนด ที ม ครู ที ม ที่ ๔ คุ ย กั น เรื่ อ งแบ่ ง หน้ าที่ ในการพานั ก เรี ย นออกภาคสนาม จบการประชุ ม ของที ม ครู ที ม ที่ ๔ ครู ใ หญ่ ก็ “บรรลุ ธ รรม” ว่ า เ ห ตุ ใ ด ก า ร จั ด ก ลุ่ ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง ค รู จึ ง ไ ม่ มี ผ ล ต่ อ ผ ล ลั พ ธ์ การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น เพราะที ม ครู คุ ย กั น ในเรื่ องที่ ไ กลจาก ผลลั พธ์ การเรี ยนรู้ ของนั กเรี ยน จั บ แต่ เรื่ องจุ กจิ ก มาคุ ยกั น ไม่ ได้ จั บ ประเด็ น ที่ เ ป็ นหั ว ใจ ที่ จ ะน� ำ ไปสู่ การปรั บ ปรุ ง การเรี ย นรู้ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมาย ครู ใ หญ่ จึ ง จั ด การประชุ ม ครู เสนอข้ อค้ นพบของตน และเสนอ ให้ ที ม ครู คุ ย กั น เรื่ องหลั ก สู ต ร การเรี ยน การสอน และการประเมิ น ๖๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ครู ใหญ่ ต กใจมาก ที่ เ หล่ า ครู แสดงความเห็ น ทิ่ ม แทงใจ ว่ า ที ม ครู ค ละสาขาไม่ ส ามารถ หารื อ ลงลึ ก ในเรื่ อ งหลั ก สู ต ร การเรี ย น การสอน และการประเมิ น ได้ เพราะคุ ย กั น ไม่ ร้ ู เรื่ อ ง เนื่ อ งจากสอน คนละสาขา ที ม จึ ง คุ ย กั น ในเรื่ อ งที่ ต น เอาใจใส่ ร่ ว มกั น คื อ นั ก เรี ย น ครู จ� ำนวนหนึ่ ง กล่ า วหาครู ใหญ่ ว่ า ละเลย หลั ก การของ Middle School ที่ เ น้ นการพั ฒ นาเด็ ก ครบทุ ก ด้ าน (Whole Child) ครู เจ้ าอารมณ์ คนหนึ่ ง ถึ ง กั บ กล่ า วหาครู ใหญ่ ว่ า ละเลยสุ ข ภาวะ ทางอารมณ์ ข องนั ก เรี ย น โดยเน้ นแต่ จ ะให้ เรี ย นได้ เกรดสู ง ครู ใ หญ่ จ ะแก้ ปั ญ หานี อ้ ย่ า งไร? แนวทางแก้ ปั ญหา ต้ องให้ เข้ าใจร่ วมกั น ว่ า การร่ วมมื อ กั น อย่ า งไร้ เป้ า หมาย ที่ ชั ด เจนและมี คุ ณ ค่ า จะไม่ น� ำ ไปสู่ เ ป้ า หมายที่ ต้ องการ เพราะ ความร่ ว มมื อ เป็ นเพี ย งเครื่ องมื อ (Means) ไม่ ใ ช่ เ ป้ า หมาย (End) เป้ า หมายที่ แ ท้ จริ ง คื อ การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น และของครู การรวมตัว กั น ของครู ก็ เ พื่ อ ร่ ว มกั น ตัง้ ค� ำ ถาม และตอบค� ำ ถาม หลัก ๔ ค� ำ ถาม ส� ำ หรั บ ครู และส� ำ หรั บ PLC ได้ แก่ ๑. เราต้ องการให้ นั ก เรี ย นได้ เรี ย นรู้ อะไรบ้ าง ๒. รู้ ได้ อย่ า งไรว่ า นั ก เรี ย นได้ เรี ย นรู้ สิ่ ง เหล่ า นั น้ ๓. จะท� ำ อย่ า งไรต่ อ นั ก เรี ย นที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เรี ย นรู้ ๔. จะจั ด การเรี ย นรู้ แบบใด แก่ นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นล� ำ้ หน้ าไปแล้ ว ๗๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ค� ำ ห ลั ก คื อ ค รู ท� ำ ง า น เ ป็ น ที ม เ พื่ อ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ที่ มี คุ ณ ค่ ายิ่ ง ใหญ่ ร่ วมกั น คื อ ศิ ษ ย์ ข องตน ได้ บ รรลุ ผ ลการเรี ย นรู้ แห่ งศตวรรษที่ ๒๑ โดยต้ องเข้ าใจค� ำ ว่ า “ที ม ” ว่ า หมายถึ ง สภาพ การท� ำ งานที่ ค รู พึ่ ง พา และร่ ว มมื อ กั น ในสภาพที่ บ รรลุ ผ ล ที่ แ ต่ ล ะคน บรรลุ ไ ม่ ไ ด้ หากแยกกั น ท� ำ ที ม ครู เ ช่ น นี ้ มี เ ป้ า หมายที่ แ น่ ว แน่ ร่ ว มกั น และมี ก ระบวนการ เ ชิ ง ร ะ บ บ ร่ ว ม กั น โ ด ย ไ ม่ มี สู ต ร ต า ย ตั ว เ มื่ อ ท� ำ ง า น ร่ ว ม กั น ไ ป ระยะหนึ่ ง ก็ จ ะบรรลุ ผ ล ที่ ไ ม่ น่ า เชื่ อ ว่ า จะเป็ นไปได้ นี่ คื อ คุ ณ ค่ า ของ การท� ำ งานเป็ นที ม แบบ PLC ที่ แ ท้ จริ ง สมาชิ ก ทุ ก คนจะรู้ สึ ก พิ ศ วงต่ อ ผลที่ เ กิ ด ขึ น้ และเห็ น คุ ณ ค่ า ของการท� ำ งาน เป็ นที ม เรี ย นรู้ PLC ด้ วย ตนเอง โดยหั ว ใจ คื อ สมาชิ ก ของที ม ต้ องพุ่ ง เป้ า ไป ที่ เ ป้ า หมายอั น ท ร ง คุ ณ ค่ า ร่ ว ม กั น ส ภ า พ เ ช่ น นี ้ เ รี ย ก ว่ า H i g h - P e r f o r m i n g Collaborative Team ที ม ดัง กล่ า ว อาจมี โ ครงสร้ างได้ หลายแบบ ได้ แก่ • ครู วิ ช าเดี ย วกั น หรื อ ระดั บ ชั ้น เดี ย วกั น (ที ม แนวระนาบ) นี่ คื อ โครงสร้ างที ม ที่ ดี ที่ สุด เพราะง่ า ยที่ สุด มี ค วามสนใจและ ประสบการณ์ ร่ ว มกัน ต่ อ ค� ำ ถาม ด้ า นการเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ ๔ ข้ อข้ างบน มีผลงานวิจัยมากมายบ่งชี ว้ ่า ทีมแบบนี ้ มีผลต่อ ผลลัพ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ของนัก เรี ย น และมี ผ ลต่อ การเรี ย นรู้ ของครู อย่างชัดเจน แต่ทีมแบบนี ้ เป็ นไปไม่ได้ ในโรงเรี ยนขนาดเล็ก ๗๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

• ที ม แนวดิ่ ง เป็ นที ม ส�ำหรั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ก ที่ มี ครู คนเดี ย ว ในระดับชัน้ และในสาขาวิชานันๆ ้ ที่จะต้ องจัดทีมข้ ามโรงเรี ยน เช่น ครู ศิลปะในโรงเรี ยน ระดับ Middle School จัดทีมร่ วมกับ ครู ศิลปะในโรงเรี ยน High School และ Elementary School หรื อครู ใ นโรงเรี ยนเดี ย วกั น ต่ า งชั น้ ร่ ว มมื อ กั น ส่ ง ต่ อ ข้ อมู ล ของนั ก เรี ย น และปรึ ก ษาหารื อ หาทางช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย น เป็ นรายคน • ทีมร่ วมมือกันผ่ านช่ องทางสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ทีมเช่นนี ้ อาจเป็ นระดับประเทศ จังหวัด หรื อเขตพื ้นที่การศึกษา โดยอาจ ไม่ เ คยพบหน้ ากั น เลย แต่ มี ค วามสนใจ เรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง ร่ วมกัน ก็รวมตัวกันเอง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กัน ผ่านช่อง ทางอิเล็กทรอนิกส์ (ICT) โดยมีเป้าหมายที่การยกระดับผลลัพธ์ การเรี ยนรู้ ของศิษย์ ที มเช่นนี ้ มี ประโยชน์ เป็ นพิ เศษในการจัด AP (Advanced Placement) Learning • ที ม พหุ ส าขา ที ม พหุส าขาในกรณี ตัว อย่า ง สามารถมี คุณ ค่า ต่ อ ผลลั พ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย น และมี คุ ณ ประโยชน์ ต่ อ ครู ที่ เ ป็ น สมาชิ ก ได้ หากครู ที่ เ ป็ น สมาชิ ก ร่ ว มกัน ตัง้ ค� ำ ถามที่ เหมาะสม เช่น นักเรี ยนในชัน้ ป. ๕ บางคนยังอ่านหนังสือไม่แตก จะช่วยเหลือ นักเรี ยนเหล่านี ้ได้ อย่างไร นักเรี ยนชัน้ ม. ๑ เริ่ มเข้ า วัยรุ่ น มีวิธี ป้องกัน การตัง้ ครรภ์ วยั รุ่ น ที่บูรณาการในชัน้ เรี ยน ทุกชัน้ ได้ อย่างไร ๗๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

โรงเรี ย น ก เป็ น โรงเรี ย นประถมศึก ษาขยายโอกาส เด็ ก เกื อ บ ทังหมดมี ้ ฐานะ ยากจน และไม่ได้ เรี ยนต่อหลังจบ ม. ๓ จะช่วย ให้ นั ก เรี ย นที่ จ บออกไป มี อ าชี พ ที่ ดี ไ ด้ • ที ม ที่ มี เ ป้ าหมายร่ วมกั น ไม่ ว่ า จั ด ที ม แบบใด ต้ องเป็ นที ม ที่มีเป้าหมายร่ วมกัน ในที่นี ้เป้าหมายใหญ่มี ๒ ด้ าน คือ ผลลัพธ์ การเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนของตน กับการเรี ยนรู้ ของครู เอง (PLC) การรวมตัวกันของครู ต้ องช่วยให้ สมาชิกทีมบรรลุผล ทังสองด้ ้ าน ได้ ง่ายขึน้ กว่าท�าคนเดียว ค รู ใ ห ญ่ ต้ อ ง ร่ ว ม กั บ ค รู จั ด โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ว ล า ท� า ง า น ใ ห ม่ เพื่ อ เจี ย ดเวลาให้ ครู ได้ มารวมตั ว กั น ประจ� า วั น ทุ ก วั น เพื่ อ ร่ วมกั น ตั ง้ ค� าถาม และตอบค� าถาม คุ ย กั น แบบสุ น ทรี ยสนทนา เพื่ อหา แ น ว ท า ง ใ ห ม่ ๆ ใ น ก า ร บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ทั ง้ ส อ ง ที่ ก ล่ า ว ข้ า ง บ น ในหนั ง สื อ ระบุ วิ ธี ก ารใหม่ ๆ หลายวิ ธี นอกจากนั น้ ต้ องมี ก ารด� า เนิ น การ เพื่ อ ให้ ครู ได้ ฝึ กทั ก ษะ การท� า งานร่ วมกั น เป็ นที ม ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดมาก จนในที่ สุ ด เกิ ด วั ฒ นธรรมการท� า งานแบบใหม่ ที่ อ าจเรี ย กว่ า วั ฒ นธรรม PLC หรื อ วัฒ นธรรมการท� า งาน เรี ย นรู้ และเติ บ โตไปด้ วยกั น

๗๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ตอบค� ำ ถาม Why ท� ำ ไ ม จึ ง ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง ค รู แ บ บ ต่ า ง ค น ต่ า ง ท� ำ ม า เ ป็ น ท� ำ ง า น แ บ บ P L C ค� ำ ต อ บ คื อ เพื่ อ บรรลุ เ ป้ าหมาย ที่ ย่ ิ ง ใหญ่ ร่ วมกั น ที่ ท� ำ คนเดี ย วไม่ สามารถ บรรลุ ไ ด้ โดยที่ ธ รรมชาติ ข องสมาชิ ก ขององค์ ก ร ต้ องพึ่ ง พาอาศั ย และเกื อ้ กู ล กั น (Interdependence) เพราะเป้ า หมาย และภารกิ จ ข อ ง ค รู มี ค ว า ม ซั บ ซ้ อ น ( C o m p l e x ) เ กิ น ก ว่ า ที่ จ ะ ท� ำ ง า น แ บ บ ต่ า งคนต่ า งท� ำ ได้ งานแบบที่ ต่ า งคนต่ า งท� ำ ก็ มี ผ ลส� ำ เร็ จ เป็ นงาน แบบธรรมดาๆ (Simple) ไม่ มี ค วามซับ ซ้ อน แต่ ก ารศึ ก ษา/การเรี ย นรู้ ไม่ ใ ช่ เ รื่ องง่ า ยๆ (Simple) เช่ น นั น้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การบรรลุ เป้ า หมาย ให้ ศิ ษ ย์ ทุ ก คนบรรลุ ผ ลลัพ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ที่ เ รี ย กว่ า Essential Learning ตามที่ ก ล่ า วในตอนที่ ๔ ใ น ส ภ า พ เ ช่ น นี ้ ค รู ต้ อ ง ท� ำ ง า น อ ย่ า ง ช า ญ ฉ ล า ด ยิ่ ง ขึ ้น (Work Smarter) ไม่ ใ ช่ แ ค่ ท� ำ งานหนั ก ยิ่ ง ขึ น้ (Work Harder) โดยที่ การท� ำ หน้ าที่ ค รู ยุ ค ศตวรรษที่ ๒๑ ไม่ มี สู ต รส� ำ เร็ จ ตายตั ว ต้ องท� ำ ไป เรี ย นรู้ ไป ทั ง้ การท� ำ งาน และเรี ย นรู้ เป็ นที ม จะช่ ว ยให้ ภารกิ จ ของครู ง่ า ยขึ น้ และสนุ ก ขึ น้ โดยที่ บ รรยากาศการท� ำ งานต้ อ งมี “ความเป็ น ชุ ม ชน” มี ค วามไว้ วางใจซึ่ ง กั น และกั น (Mutual Trust) กล้ าเปิ ดใจ ต่ อกั น กล้ าตั ้ง ข้ อสั ง เกต จากการท� ำ งานของตนแก่ เพื่ อนครู ใน PLC ๗๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

วั ฒ นธรรมความร่ ว มมื อ ในที่ นี จ้ ึ ง อยู่ บ นฐาน ของการท� ำ งาน ริ เ ริ่ ม สร้ างสรรค์ และเรี ย นรู้ จากกระบวนการ และการท� ำ งานร่ ว มกั น นั น้ เพื่ อ พัฒ นาให้ ดี ยิ่ ง ขึ น้ การรวมตั ว เป็ น PLC ของครู จึ ง อยู่ บ นฐานของการท� ำ งาน ภายใต้ แนวทาง CQI – Continuous Quality Improvement ที่มีเป้าหมาย ทั ง้ ผลงาน (คื อ ผลลั พ ธ์ ก ารเรี ยนรู้ ของศิ ษ ย์ ) ดี ขึ น้ และตั ว ครู เ องก็ มี การเรี ยนรู้ อยู่ตลอดเวลา ท�ำไมจึงต้ องเปลี่ยนโครงสร้ างการท�ำงาน จากเป็ นตัวบุคคล เดี่ยวๆ มาเป็ นทีม หรื อ PLC ค�ำตอบ คือ เพราะการท�ำหน้ าที่ครู ยุ ค ใหม่ ต้ อ งท�ำ แบบริ เ ริ่ มสร้ างสรรค์ ที่ท�ำ คนเดี ย ว หวั ง ผลดั ง กล่ า ว ได้ ยาก แต่ หากท�ำเป็ นทีม ภายใต้ ปฏิสัมพันธ์ เชิงบวก มีกระบวนการ กลุ่มที่ดี พลังสร้ างสรรค์ จะออกมาเอง โดยธรรมชาติ ประเมิ น ต� ำ แหน่ งแห่ ง หนของท่ า นในเส้ นทางของ PLC การก่ อ เกิ ด และพั ฒ นา PLC เป็ นเสมื อ นการเดิ น ทาง ดั ง นั น้ ผู้ บริ หารและที ม PLC ต้ องรู้ ตั ว ว่ า การรวมตั ว กั น ท� ำ งานเป็ นที ม ท� ำ งานและเรี ยนรู้ ก้ าวหน้ า ไปถึ ง ไหนแล้ ว โดยในหนั ง สื อ แบ่ ง ช่ ว ง ข อ ง พั ฒ น า ก า ร เ ป็ น ๕ ช่ ว ง คื อ ช่ ว ง ก่ อ น เ ริ่ ม ต้ น , ช่ ว ง เ ริ่ ม ต้ น , ช่ ว งด� ำ เนิ น การ, ช่ ว งพั ฒ นา, และช่ ว งยั่ ง ยื น โดยมี ลัก ษณะของแต่ ละช่ ว งของ PLC ดั ง ต่ อ ไปนี ้ ๗๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

• ช่ วงก่ อนเริ่ มต้ น ครู ท�ำงานแบบต่างคนต่างท�ำ โดยครู แต่ละคน ไม่ ส นใจ ไม่ รั บ รู้ ว่ า เพื่ อ นครู ค นอื่ น มี ยุ ท ธศาสตร์ เป้ า หมาย และวิธีท�ำงาน ในรายวิชาเดียวกัน หรื อในระดับชันเดี ้ ยวกันอย่างไร ไม่ มี แ ผนยุ ท ธศาสตร์ ส่ ง เสริ ม และอ� ำ นวยความสะดวกให้ ค รู ท�ำงานเป็ นทีม • ช่ วงเริ่มต้ น ครูได้ รับการส่งเสริ ม (แต่ไม่บงั คับ) ให้ ท�ำงานร่วมกัน เป็ นทีม ครู บางคนอาจเลือกท�ำงานร่ วมกับเพื่อนครู ที่ถกู อัธยาศัย หรื อมีประเด็นสนใจร่ วมกัน เกิดความร่ วมมือ แต่อาจยังไปไม่ถึง การมีเป้าหมายที่ผลลัพธ์การเรี ยนรู้ของศิษย์ • ช่ วงด�ำเนิ นการ ครู ได้ รับการมอบหมายให้ เข้ าทีม และจัดเวลา ให้ แ ก่ ก ารท� ำ งานร่ ว มกัน ที ม ครู อ าจยัง ไม่ ชัด เจนในเป้า หมาย ยัง ใช้ เ วลาท� ำ งานร่ ว มกัน ไม่เ ป็ น เรื่ อ งที่ น�ำ มาปรึ ก ษาหารื อ กัน อาจจะยังไม่เกี่ยวข้ องกับ ผลลัพธ์การเรี ยนรู้ของศิษย์ • ช่ วงพัฒนา ครู ได้ รับมอบหมายให้ เข้ าทีม มีตารางก�ำหนดเวลา การประชุมทีมอย่างสม�่ำเสมอทุกสัปดาห์ ประเด็นที่น�ำมาหารื อกัน พุ่งไปที่ เรื่ องส�ำคัญ ที่ มีผลต่อผลลัพธ์ การเรี ยนรู้ ของศิษย์ มี การ ติ ด ตามการท� ำ งานของที ม อย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ หาทางส่ ง เสริ ม ให้ การเรี ย นรู้ ของนั ก เรี ย นบรรลุ ผ ล เป็ นการเรี ย นรู้ ระดั บ สู ง (Higher Order Learning หรื อ Mastery Learning)

๗๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

• ช่ วงยั่ งยื น การท� ำ งานเป็ น ที ม ได้ ก ลายเป็ น วัฒ นธรรมฝั ง ลึ ก ในโรงเรี ย น ครู ม องการท� ำ งานเป็ น ที ม ว่ า ช่ ว ยให้ ต นท� ำ หน้ า ที่ ครู แ บบพัฒ นา ยกระดับ เรื่ อ ยไปไม่ จ บสิ น้ ที ม ครู ท� ำ งานแบบ ก� ำ หนดเป้ า หมายด้ ว ยตนเอง เป็ น เป้ า หมายที่ มี ค วามส� ำ คัญ ต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรี ยนรู้ ส่วนที่ส�ำคัญยิ่งต่อนักเรี ยน ท�ำให้ มี การพั ฒ นากระบวนการเรี ยนรู้ ในชั น้ เรี ยนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี การก� ำหนดตัวชี ว้ ัด เพื่ อวัดผลการท� ำงานของกลุ่ม เกิ ดระบบ การพัฒนาครู ที่ฝังอยู่ในระบบงาน หลัง จากประเมิ น และทราบต� ำ แหน่ ง ของ PLC ในเส้ น ทางเดิ น ที่ ก� ำ หนดไว้ ก็ น� ำ มาก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ และเส้ น ทางเดิ น ต่ อ ไป สร้ างวัฒนธรรมความร่ วมมือผ่ าน High Performing Teams มีแนวทางดังต่อไปนี ้ • สร้ างทีมที่มีความหมาย มีการตังค� ้ ำถามส�ำคัญเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ ของศิษย์ • จัดเวลาส�ำหรับท�ำงานร่วมกัน • สร้ างผู้ น� ำ กระจายทั่ว องค์ ก ร โดยจัด ให้ มี ผ้ ู น� ำ ที ม ส� ำ หรั บ ที ม ที่มีสมาชิก ๓ คนขึน้ ไป และครู ใหญ่ พบกับกลุ่มผู้น�ำเป็ นประจ�ำ เพื่อร่วมกัน ตรวจสอบหาปั ญหา และแนวทางแก้ ปัญหา

๗๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

• ทีมร่ วมกันตัดสินใจ บนฐานของข้ อมูลหลักฐาน • ช่ ว ยให้ ที ม PLC ประสบความส� ำ เร็ จ โดยมี เ ครื่ อ งมื อ ที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ ใช้ งาน เช่ น ผลงานวิ จัย ตัว อย่ า ง Success Story, แบบฟอร์ มส�ำหรับใช้ งาน เป็ นต้ น • ประเมิ น ความก้ าวหน้ าของที ม อย่ า งสม�่ ำ เสมอ และเข้ าไป ช่วยเหลือ เมื่อมีปัญหา • แสดงตัวอย่างภาวะผู้น�ำ โดยก�ำหนดการประชุมอย่างสม�่ำเสมอ โฟกั ส ที่ ป ระเด็ น ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ สู ง สุ ด ต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ข อง นักเรี ยนให้ คุณค่าต่อความรั บผิดชอบร่ วมกัน • ส่งเสริ มความร่วมมือข้ ามทีม • ขยายฐานความรู้ส�ำหรับการท�ำงานของทีม • เฉลิมฉลองความส�ำเร็ จ ค� ำ ถามส� ำ หรั บ น� ำ ทาง PLC ค� ำ ถ า ม ต่ อ ไ ป นี ้ จ ะ ช่ ว ย ส่ ง เ ส ริ ม วั ฒ น ธ ร ร ม ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ในโรงเรี ยน และในเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา • ได้ จดั ครูเข้ าทีม PLC หรื อไม่ • จัดทีม PLC ตามระดับชัน้ หรื อตามวิชาที่สอน ใช่หรื อไม่ • หากจั ด ที ม แบบพหุ ส าขา สมาชิ ก ที ม ได้ ก� ำ หนดเป้ า หมาย การเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชาหรื อไม่ ๗๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

• ครู ผ้ ูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา และครู ที่ไม่มีเพื่อนร่ วมสาขา ได้ เข้ า กลุ่มที่เหมาะสมหรื อไม่ • มี ก ารจั ด ครู ใ ห้ เข้ ากลุ่ ม ที่ ย ากต่ อ การเชื่ อ มโยงกั บ ประเด็ น ที่ ส� า คัญ ยิ่ ง ยวด ต่อ การปรั บ ปรุ ง การเรี ย นรู้ ของศิ ษ ย์ หรื อ ไม่ ได้ จัด เวลาส� า หรั บ ที ม ครู ได้ ป ระชุ ม แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั น อย่ า ง สม�่าเสมอหรื อไม่ • ที ม ครู ได้ ร่ วมกั น พิ จ ารณาประเด็ น ที่ มี ค วามส� า คั ญ ยิ่ ง ยวด ตามหลักการ “เรี ยนจากการปฏิบตั ิ” (Learning by Doing) หรื อไม่ • ที ม ครู ไ ด้ รั บ มอบหมาย ให้ ส่ ง ผลงานตามก� า หนดเวลาหรื อ ไม่ ผลงานที่ก�าหนด สะท้ อนการโฟกัส ที่ประเด็นส�าคัญยิ่งยวด หรื อไม่ • มีระบบติดตามงาน และผลงานของทีม ตามระยะเวลาที่เหมาะสม หรื อไม่ • ทีมครู ได้ ก�าหนดข้ อตกลง เพื่อให้ เกิดพันธกรณี ให้ สมาชิกของทีม รับผิดชอบการท�างานร่วมกัน หรื อไม่ • สมาชิกของทีม ปฏิบัติตามข้ อตกลงหรื อไม่ เกิ ดอะไรขึน้ หากมี สมาชิกที่ไม่ปฏิบตั ติ ามข้ อตกลง • ผู้บริ หารได้ จดั เวลา ความรู้ และการสนับสนุนอื่น เพื่อการท�างาน ที่ได้ ผลของทีมครู หรื อไม่

๗๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ลื่ นไถลออกนอกเส้ นทาง หรื อหลงเข้ าเส้ นทางลั ด ก า ร “ จั ด ก ลุ่ ม ” ค รู กั บ “ จั ด ที ม ” ไ ม่ เ ห มื อ น กั น ไ ม่ ถื อ เ ป็ น ที ม ห า ก ส ม า ชิ ก ไ ม่ รู้ สึ ก ว่ า ต้ อ ง พึ่ ง พ า อ า ศั ย ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น (Interdependence) เพื่ อบรรลุ เ ป้ า หมาย ที่ ทรงคุ ณ ค่ า ร่ วมกั น และรู้ สึ ก รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลที่ เ กิ ด ขึ น้ ร่ วมกั น จ ง ร ะ วั ง “ ที ม เ ที ย ม ” ( A r t i f i c i a l T e a m ) ที่ เ กิ ด จ า ก ค รู ที่ ไ ม่ ร้ ู ว่ า จะจั ด ให้ เข้ าที ม ใด จึ ง น� า มาเข้ า “กลุ่ ม ที่ เ หลื อ ” ที ม P L C จ ะ ไ ร้ ผ ล ต่ อ ผ ล ลั พ ธ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ศิ ษ ย์ ห า ก ส ม า ชิ ก ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ค ว า ม พ ย า ย า ม ร่ ว ม กั น เ พื่ อ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ที่ ถู ก ต้ อง จึ ง ต้ องมี ร ะบบช่ ว ยเหลื อ ให้ ที ม ครู เดิ น ตรงทาง และบรรลุ เป้ า หมายที่ แ ท้ จริ ง ไม่ ห ลงประเด็ น สรุ ป วั ฒ นธรรม คว าม ร่ ว ม มื อ ไม่ ไ ด้ เกิ ดขึ น้ ได้ เอ ง ใ น โ ร ง เรี ย น ห รื อ เ ข ต พื น้ ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ผู้ น� า ต้ อ ง เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง ขึ น้ ผ่ า น ก า ร จั ด ใ ห้ ครู ท� า งานใน High-Performing Team แต่ ค วามร่ วมมื อ กั น และ ท� างานเป็ นที ม ก็ ไม่ ใ ช่ เ ป้ า หมายสุ ด ท้ าย แต่ เ ป็ นเส้ นทาง หรื อ วิ ธี การสู่ เ ป้ า หมายที่ ยิ่ ง ใหญ่ คื อ ผลลั พ ธ์ การเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ยนที่ เป็ น Higher Order Learning หรื อ Mastery Learning

๘๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๘๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๗ เน้นที่¼ลลัพ¸์ äม่ใช่แ¼นยุท¸ศาสตร์

๘๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . ก ่ อ น ตัé ง เ ป ‡ า ข อ ง โ ร ง เ รี ย น / เ ข ต พื้ น ทำี่ ก ารศึ ก ษา ต้ อ งรู ้ ว ่ า ขณะนีé ต นเอง อ ยู ่ ต ร ง ä ห น ใ น คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ ล ลั พ ¸  ทำ า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง นั ก เ รี ย น . . . แ ล ้ ว ตัé ง เป‡ า หมาย เป็ น ๒ ระดับ คื อ เป‡ า หมายที่ ต้ อ งบรรลุ และเป‡ า หมายที่ ท ้ า ทาย”

ตอนที่ ๗ นี จ้ ั บ ความจาก Chapter 6 : Creating a Results Orientation in a Professional Learning Community ๘๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ข้ อ ค ว า ม ใ น บ ท นี ้ เ น้ น สื่ อ ต่ อ ค รู ใ ห ญ่ แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร เขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา ให้ เป็ นพี่ เ ลี ย้ งหรื อ Facilitator ต่ อที ม PLC ที่ ไม่ พาที ม PLC หลงทาง คื อ ไปหมกมุ่ นอยู่ กั บ แผนยุ ท ธศาสตร์ ห รื อ มุ่ ง ส น อ ง แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ข อ ง โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ / ห รื อ เ ข ต การศึ ก ษา จนหมดแรงหรื อไปไม่ ถึ ง “ของจริ ง” หรื อเป้ าหมาย ที่ แท้ จริ ง คื อ ผลการเรี ยนของนั ก เรี ยน ระหว่ า งอ่ า นบทนี ้ ผมบั น ทึ ก ข้ อสรุ ปเหล่ า นี ไ้ ว้ • แผนยุท ธศาสตร์ ข องโรงเรี ย น ไม่น� ำ สู่ก ารปฏิ บัติ ที่ มุ่ง ผล CQI ของ Learning Outcome • ครู ท�ำงานในสภาพ Goal Overload เพราะมี ค�ำสั่ง ให้ ท�ำตาม มากมาย จนไม่มีเป้าหมาย ที่ชัดเจนแท้ จริ ง • มี ค� ำ ไพเราะค� ำ โตๆ เช่ น SMART Goals จนครู มัว หลงอยู่กับ การตีความ และปฏิบตั ิ ตามค�ำเต็มของตัวย่อ SMART และไป ไม่ถึงเป้าหมายผลการเรี ยนรู้ ของศิษย์ • ผมเริ่ มเข้ าใจว่า น่าสงสารครู ที่มีเรื่ องราวต่างๆ มากมาย เข้ ามา กัน้ ขวางระหว่างครู กับศิษย์ มาเบี่ยงเบนความสนใจ หรื อโฟกัส ๘๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ออกไปจากตัวนักเรี ยน สิ่งเบี่ยงเบนเหล่านัน้ ส่วนใหญ่ คงจะ มากับ ความตัง้ ใจดี มาในนามของโครงการพัฒ นาการศึ ก ษา แต่อ นิ จ จา ความตัง้ ใจดี นัน้ กลับ ก่ อ ผลร้ ายต่อ นัก เรี ย น เพราะ มันเบี่ ยงเบนความเอาใจใส่ของครู ไปที่ ตัวแทน (Proxy) ไม่ใช่ ที่ตวั นักเรี ยน • ต้ องเน้ นที่ ผ ลลั พ ธ์ ไม่ ใ ช่ ห ยุ ด อยู่ ที่ กิ จ กรรม ผลลั พ ธ์ คื อ ผลการเรี ยนของนักเรี ยน และกระบวนการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยน ไม่ใช่กระบวนการสอนของครู แทนที่ จ ะเน้ นที่ แ ผนยุ ท ธศาสตร์ ผู้ เขี ย นหนั ง สื อ เล่ ม นี ้ แนะน� ำ ให้ เน้ น การร่ ว มกั น ก� ำ หนดเป้ า หมายของผลลั พ ธ์ ที่ เ ป็ นเป้ า หมาย ๒ ระดั บ คื อ เป้ าหมายที่ ต้ องบรรลุ ใ ห้ ได้ กั บ เป้ าหมายท้ าทาย ที่ ยาก แต่ ยิ่ ง ใหญ่ ก ว่ า หรื อคล้ ายๆ ยากเกิ น ไป ที่ จ ะช่ ว ยกระตุ้ น การ ลงมื อ ทดลองของคนบางกลุ่ ม หรื อบางโรงเรี ยน ที่ ช อบความท้ าทาย พึ ง ระวั ง ว่ าเป้ าหมาย ที่ กล่ าวถึ ง นี ้ ไม่ ใช่ ข้ อความระบุ พั น ธกิ จ (Mission Statement) แต่ เป็ นเป้ าหมายสั ้น ๆ ที่ เป็ นรู ปธรรม จั บ ต้ องได้ ไม่ ต้ องตี ค วาม เช่ น เป้ า หมาย “จะส่ ง คนไปเหยี ย บพื น้ ดวงจั น ทร์ ใน ๑๐ ปี ” ของอดี ต ประธานาธิ บ ดี เ คนเนดี ้

๘๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

เ ป้ า ห ม า ย นี ้ จ ะ ช่ ว ย ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ แ ห่ ง ก า ร ต่ อ สู้ แ ล ะ ชั ย ช น ะ อ ย่ า ง เ ป็ น ขั น้ ต อ น ช่ ว ย ส ร้ า ง ข วั ญ ก� ำ ลั ง ใ จ ที่ จ ะ ก ร ะ ตุ้ น ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ก ร ะ ตุ้ น ที ม ส ปิ ริ ต โ ด ย ผู้ บ ริ ห า ร ต้ อ ง รู้ จั ก หยิ บ เอาชั ย ชนะเล็ ก ๆ ตามเป้ า หรื อที่ แ สดงว่ า ก� ำ ลั ง เดิ น ทางใกล้ เ ป้ า ห ม า ย เ ข้ า ไ ป เ รื่ อ ย ๆ เ อ า ม า เ ฉ ลิ ม ฉ ล อ ง เ พื่ อ ส ร้ า ง ก� ำ ลั ง ใ จ และความมุ่ ง มั่ น ของที ม PLC ผ ม ตั ้ง ชื่ อ ต อ น นี ้ว่ า “ มุ่ ง ที่ ผ ล ลั พ ธ์ ไ ม่ ใ ช่ ที่ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ” เพราะผู้ เขี ย นหนั ง สื อ เล่ ม นี อ้ ้ างถึ ง ผลการวิ จั ย (ในสหรั ฐ อเมริ กา) ว่ า การมี แ ผนยุ ท ธศาสตร์ ที่ ดี ไม่ ไ ด้ น� ำ ไปสู่ ผ ลลั พ ธ์ (ผลการเรี ยนของ นั ก เรี ยน) ที่ ดี ผ ล ก า ร วิ จั ย นี ้ บ อ ก เ ร า ว่ า ใ น ว ง ก า ร ศึ ก ษ า มี ส ม ม ติ ฐ า น ที่ ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ต า ม ส า มั ญ ส� ำ นึ ก ม า ก ม า ย ที่ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ไ ม่ เป็ นไปตามสมมติ ฐ าน เช่ น กรณี แ ผนยุ ท ธศาสตร์ กั บ ผลการเรี ยน อี ก ตั ว อย่ า งหนึ่ ง คื อ ปริ ญญาของครู กั บ ผลการเรี ยน (หลั ก ฐาน อยู่ ใ นหนั ง สื อ Visible Learning : A Synthesis of Over 800 Meta - Analyses Relating to Achievement) ค� ำ อธิ บ ายของผม คื อ ส ม ม ติ ฐ า น นั น้ มั น มี ห ล า ย ขั น้ ต อ น ไ ป สู่ ผ ล ลั พ ธ์ แ ล ะ ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ ค น ใ น ว ง ก า ร ศึ ก ษ า มั ก ด� ำ เ นิ น ก า ร ที่ ขั น้ ต อ น ต้ น ๆ ที่ ต น เคยชิ น ไปไม่ ถึ ง ขั น้ ตอนหลั ก ที่ จ ะก่ อ ผลต่ อ Learning Outcome ของนั ก เรี ยน เพราะเป็ นส่ ว นที่ ต น ไม่ สั น ทั ด ไม่ เ คยชิ น ๘๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ที่ จ ริ ง ไม่ ว่ า วงการไหนๆ ต่ า งก็ ต กอยู่ ใ ต้ มายาของ Proxy ห รื อ ตั ว แ ท น ทั ง้ สิ น้ ตั ว แ ท น เ ห ล่ า นี ้ เ ข้ า ม า ส อ ด แ ท ร ก ตั ว ท� า ใ ห้ เราหมกมุ่ น อยู่ กั บ ตั ว แทน จึ ง ไปไม่ ถึ ง ตั ว จริ ง ซึ่ ง ในกรณี นี ้ คื อ ผล การเรี ยนของนั ก เรี ยน ในชี วิ ต จริ ง เรายุ่ ง อยู่ กั บ เปลื อ กของความสุ ข จึ ง ไ ป ไ ม่ ถึ ง แ ก่ น ข อ ง ค ว า ม สุ ข เ ร า ยุ่ ง อ ยู่ กั บ พิ ธี ก ร ร ม ใ น ศ า ส น า จนเข้ าไม่ ถึ ง แก่ น ของศาสนา เป็ นต้ น ท� า ให้ ผมย้ อนกลั บ ไปคิ ด ถึ ง หลั ก ของการตั ง้ เป้ า ว่ า KISS ซึ่ ง ย่ อ มาจาก Keep It Simple and Stupid อย่ า หลงตั ง้ เป้ า เพื่ อ แสดงภู มิ ปั ญญา ที่ ย อกย้ อนเข้ าใจยาก ก่ อนตั ้ง เป้ าของโรงเรี ยน/เขตพื น้ ที่ การศึ ก ษา ต้ องรู้ ว่ า ขณะนี ต้ นเองอยู่ ตรงไหน ในคุ ณ ภาพของผลลั พ ธ์ ทางการเรี ย น ของนั ก เรี ยน แล้ วตั ้ง เป้ าหมายทั ้ง ๒ ระดั บ คื อ เป้ าหมายที่ ต้ องบรรลุ กั บ เป้ าหมายท้ าทาย แล้ ว PLC แต่ ล ะที ม เอาไป ตั ง้ เป้ า ของที ม โดยมี เ ป้ า หมาย ทั ง้ ๒ ระดั บ เช่ น เดี ย วกั น และเสนอ เป้ า ของที ม ให้ ครู ใหญ่ รั บ ทราบ และเห็ น ชอบ เพื่ อ ครู ใหญ่ จ ะได้ หาทาง Empower ให้ บรรลุ เ ป้ า ให้ จงได้ การตั ง้ เป้ า ที่ ดี และการด� า เนิ นการ เพื่ อบรรลุ เ ป้ า ต้ องมี ข้ อมู ล ที่ ดี ที่ ทั น กาล ส� า หรั บ น� า มาใช้ ประโยชน์ ซึ่ ง จะกล่ า วถึ ง ใน ตอนที่ ๘

๘๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๘ พลังของข้อมูล และสารสนเทศ

๘๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...ผลของ Formative Assessment ทำี่ใช้ข้อสำอบร่วมของ PLC คือ Feedback ทำั้ ง ต่ อ นั ก เรี ย น และต่ อ ครู สำ�หรั บ น�มาใช้ ยืนหยัดวิ¸ีการบางอย่าง และปรับปรุงวิ¸ีการ บางอย่าง...”

ตอนที่ ๘ นี จ้ ั บ ความจาก Chapter 7 : Using Relevant Information to Improve Results ๘๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

หั ว ใ จของ P LC คื อ เปลี่ ย นจุ ด โ ฟ กั ส จา ก I n p u t สู่ Outcomes และจาก Activities สู่ Results และข้ อมู ล ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ในการท� ำ ความเข้ าใจผลลั พ ธ์ คื อ ข้ อมู ล ของผลลั พ ธ์ ของการเรี ยนของนั กเรี ยน (Learning Outcome) ที่ ได้ จาก Formative Assessment เป็ นระยะๆ ดั ง นั ้น ที ม P L C จึ ง ต้ อ ง ร่ ว ม กั น ก� ำ ห น ด วิ ธี จั ด / ข้ อ ส อ บ Formative Assessment ที่ ค รู ทุ ก คนในที ม ใช้ ร่ วมกั น เพื่ อ น� ำ ผล ของการประเมิ น ความก้ าวหน้ า ในการเรี ยนของนั ก เรี ยน มาเป็ น ข้ อเรี ยนรู้ ของครู ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ส ม ม ติ ต า ม ใ น ห นั ง สื อ ค รู ส ม า ชิ ก P L C ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ย กั บ ก า ร มี F o r m a t i v e A s s e s s m e n t ที่ ใ ช้ ข้ อ ส อ บ เดี ย วกั น เพราะเกรงว่ า จะเป็ นกโลบายของฝ่ ายบริ หาร ที่ จ ะใช้ ผล การสอบของนั ก เรี ยน เป็ นตั ว บอกความสามารถ หรื อผลงานของครู ครู ก ลั ว ว่ า ผลของ Formative Assessment ของศิ ษ ย์ จะถู ก ใช้ เป็ น ผลของ Summative Evaluation ต่ อ ครู

๙๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช



อ่ า น แ ล้ ว ผ ม บ อ ก ตั ว เ อ ง ว่ า ทั ศ น ค ติ ต่ อ ก า ร ส อ บ ว่ า เ ป็ น

เครื่ องมื อ สร้ างข้ อมู ล และสารสนเทศ ส� ำ หรั บ การเรี ยนรู้ และพั ฒ นา เป็ นสิ่ ง ที่ ยากมาก ที่ จะเกิ ดขึ น้ จริ ง ในวงการศึ ก ษา แม้ จะอยู่ ใ น ทฤษฎี ท างการศึ ก ษามาช้ านาน หั ว ใจอยู่ ที่ ก ารเรี ย นรู้ จากการปฏิ บั ติ (การจั ด การเรี ย นรู้ ของครู ) ซึ่ งตั ว ช่ วยคื อ ข้ อมู ล ผลของการปฏิ บั ติ (Learning Outcome ของนั ก เรี ย น) การมี Learning Outcome ที่ เ ปรี ย บเที ย บ กั น ไ ด้ เ พ ร า ะ ใ ช้ ข้ อ ส อ บ เ ดี ย ว กั น ที่ ค รู ส ม า ชิ ก P L C นั ้น เ อ ง ร่ วมกั น คิ ด ขึ น้ (หรื อออกข้ อสอบร่ วมกั น ) เป็ น “ปฏิ เ วธ” คื อ ผล ของการปฏิ บั ติ ที่ ส มาชิ ก ของ PLC น� ำ มา AAR ร่ วมกั น นี่ คื อ หั ว ใ จ ข อ ง A c t i o n L e a r n i n g ที่ ส ม า ชิ ก ข อ ง ก ลุ่ ม PLC ตั ง้ เป้ า หมายร่ วมกั น และอาจก� ำ หนดวิ ธี ก าร จั ด การเรี ยนรู้ ร่ ว ม กั น ด้ ว ย แ ต่ ต อ น ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ค รู แ ต่ ล ะ ค น จ ะ มี ลู ก เ ล่ น ห รื อ วิ ธี ก า ร ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ไ ม่ เ ห มื อ น กั น น� ำ ไ ป สู่ ผ ล ก า ร เ รี ย น ที่ แตกต่ า งกั น ผลการเรี ย นที่ แ ตกต่ างนั ้น เอง คื อ หั ว ข้ อการเรี ย นรู้ ร่ วมกั น ของครู ว่ า Learning Outcome ของข้ อสอบแต่ ละข้ อ ที่ แตกต่ างกั น นั ้ น เกิ ด จากวิ ธี ก ารจั ด การเรี ยนรู้ ที่ แตกต่ างกั น อย่ างไร

๙๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

หั ว ใ จ อ ยู่ ที่ ร า ย ล ะ เ อี ย ด คื อ ต้ อ ง ไ ม่ ห ล ง ดู ห ย า บ ๆ ที่ ผลการสอบ ในภาพรวมเท่ านั ้ น ต้ องดู ท่ ี แต่ ละหมวด หรื อที่ ข้ อสอบแต่ ละข้ อ จะมี ข้ อมู ล ที่ ครู ช่ วยกั น ตี ค วามแปลออกมา เ ป็ น ข้ อ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ เ ป็ น ส า ร ส น เ ท ศ ส� า ห รั บ ปรั บปรุ งวิ ธี จั ด การเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ยนในทั น ที ผู้ บริ หาร ต้ องสั ญ ญาว่ า จะไม่ เ อาผลการสอบ Formative ของนั ก เรี ยน มาเป็ นข้ อมู ล ประกอบการให้ คุ ณ ให้ โทษแก่ ค รู แต่ จ ะ เ อ า ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ จ า ก ก า ร ตี ค ว า ม ผ ล ก า ร ส อ บ นั น้ ที่ เ อ า ม า ใ ช้ ป รั บ ป รุ ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ ป็ น ข้ อ มู ล ส� า ห รั บ ใ ห้ คุ ณ หรื อยกย่ อ งที ม PLC ที ม ใด เกิ ด การเรี ยนรู้ มากและลึ ก และเกิ ด การปรั บ เปลี่ ย น การจั ด การเรี ยนรู้ ของศิ ษ ย์ ม าก จะได้ รั บ การยกย่ อ ง เฉลิ ม ฉลอง และเป็ นคะแนนสะสม ส� า หรั บ ประกอบการให้ โบนั ส หรื อการขึ น้ เงิ น เดื อ น การเรี ยนรู้ ของครู และการปรั บ รู ปแบบ การจั ด การเรี ยนรู้ แ ก่ ศิ ษ ย์ เ ป็ น O u t p u t ที่ ต้ อ ง ก า ร ข อ ง P L C แ ล ะ จ ะ มี ผ ล ต่ อ Learning Outcome ของศิ ษ ย์ (John Hattie : Visible Learning : A Synthesis of Over 800 Meta-Analyses Relating to Achievement)

๙๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ส ภ า พ ที่ แ ท้ จ ริ ง ใ น โ ร ง เ รี ย น คื อ ไ ม่ ไ ด้ ข า ด แ ค ล น ข้ อ มู ล โรงเรี ยนมี ข้ อมู ล มากล้ น เกิ น ความจ� ำ เป็ น และเกื อ บทั ง้ หมด ไม่ ใ ช่ ข้ อมู ล ที่ จ ะน� ำ ไปสู่ ก ารพั ฒ นา Learning Outcome ของนั ก เรี ยน โดยตรง ท� ำ ให้ ครู จ มอยู่ กั บ กองข้ อมู ล ที่ ไ ร้ ประโยชน์ (ต่ อ การยกระดั บ ผ ล ก า ร เ รี ย น ข อ ง นั ก เ รี ย น ) ห รื อ ห ล ง อ ยู่ กั บ ก า ร จั ด ท� ำ ข้ อ มู ล ที่ ไ ร้ ประโยชน์ เพื่ อ เสนอหน่ ว ยเหนื อ ฝรั่ ง เขาเรี ยกสภาพของข้ อมู ล ในโรงเรี ยนว่ า เป็ นโรค DRIP Syndrome คื อ อยู่ ใ นสภาพ Data - Rich, Information - Poor ข้ อมู ล มากล้ น แต่ ไ ร้ ความหมาย ความหมายในที่ นี ้ มุ่ ง ที่ ก ารเป็ นประโยชน์ ต่ อ การยกระดั บ Learning Outcome ของศิ ษ ย์ และเป็ นประโยชน์ ต่ อ การยกระดั บ ก า ร เ รี ย น รู้ จ า ก ก า ร ท� ำ ห น้ า ที่ ค รู ฝึ ก ห รื อ F a c i l i t a t o r ข อ ง ค รู คื อ ช่ ว ย ใ ห้ ค รู เ กิ ด ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ ผ ล ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ เพื่ อ ท� ำ ความเข้ าใจว่ า การปฏิ บั ติ แ บบใดของครู ที่ มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ที่ แ ท้ จริ งของศิ ษ ย์ เป็ นการเรี ยนรู้ ในมิ ติ ที่ ล ะเอี ย ดอ่ อ น เป็ นทั ก ษะ ของการเรี ยนรู้ ที่ ค รู จะต้ องฝึ ก มองอี ก มุ ม หนึ่ ง ผลของ Formative Assessment ที่ ใช้ ข้ อสอบร่ วมของ PLC คื อ Feedback ทั ้ง ต่ อนั ก เรี ย น และต่ อครู ส� ำ หรั บน� ำ มาใช้ ยื น หยั ด วิ ธี ก ารบางอย่ าง และปรั บปรุ งวิ ธี ก าร บางอย่ าง ๙๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ผ ม ข อ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ส่ ว น ตั ว ว่ า วิ ธี น� ำ เ อ า ผ ล L e a r n i n g Outcome ของศิ ษ ย์ จาก Formative Evaluation ที่ ใ ช้ ข้ อสอบ ร่ ว ม ม า แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ เ พื่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ค รู นี ้ ต้ อ ง ใ ช้ เทคนิ คการจั ด การความรู้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การใช้ เครื่ องมื อ D i a l o g u e ( อ ย่ า ใ ช้ D i s c u s s i o n เ ป็ น อั น ข า ด ) แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ SSS (Success Story Sharing) ประกอบกั บ เรื่ องเล่ า เร้ าพลั ง (Storytelling) คื อ ให้ ครู ที่ ลู ก ศิ ษ ย์ ท� ำ ข้ อสอบหมวดใด หรื อข้ อใด ได้ ดี เ ป็ นพิ เ ศษ เล่ า ว่ า ตนท� ำ อย่ า งไร และคิ ด ว่ า วิ ธี การใดของตน ที่ น่ า จะส่ ง ผลต่ อ การเรี ยนรู้ ที่ ไ ด้ ผลดี ข องศิ ษ ย์ ทั ก ษะ KM ของครู , พี่ เลี ย้ งของ PLC และของผู้ บริ หาร จะมี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อการใช้ ผลของ Formative Assessment ต่ อการขั บ เคลื่ อนผลงานของ PLC ห นั ง สื อ นี ้ บ ท ที่ ๓ บ อ ก วิ ธี ด� ำ เ นิ น ก า ร ส ร้ า ง ข้ อ ส อ บ ร่ ว ม ข อ ง ที ม P L C แ ต่ ผ ม ไ ม่ ไ ด้ น� ำ ม า เ ส น อ เ พ ร า ะ เ ป็ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ผมคิ ด ว่ า คุ ณ ค่ าส� ำ คั ญ ของการมี ข้ อสอบร่ วม คื อ ท� ำ ให้ ที ม PLC มี SS (Success Story) เล็ ก ๆ จ� ำ นวนมากมาย ส� ำ หรั บน� ำ มา แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ กั น P L C จ ะ มี พ ลั ง สู ง ต้ อ ง มี ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ผ ล ข อ ง Formative Assessment อย่ า งกว้ างขวาง โดยฝ่ ายบริ หาร ต้ อง สนั บ สนุ น ๒ อย่ า ง : Logistics กั บ Culture ๙๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ในด้ าน Logistics ครู ต้ องได้ รั บ การสนั บ สนุ น เจ้ าหน้ าที่ น� ำ เ อ า ค� ำ ต อ บ ข อ ง นั ก เ รี ย น ไ ป K e y - I n แ ล ะ จั ด ท� ำ อ อ ก ม า เ ป็ น รายงานที่ มี ข้ อมู ล เปรี ย บเที ย บผล ที่ จ ะเป็ น SS เล็ ก ๆ ของการเรี ย นรู้ และเห็ น ความท้ าทาย ต่ อ ครู บางคน ที่ ศิ ษ ย์ ส อบได้ ผลต�่ ำ ในหนั ง สื อ นี ้ มี ก ารเสนอ วิ ธี การจั ด การแลกเปลี่ ย นเรี ยนรู้ หลากหลายวิ ธี ที่ ม าจากผลการวิ จั ย ของนั ก การศึ ก ษาที่ ห ลากหลาย ที่ ฝ่ ายบริ หาร ควรจั ด ให้ ครู สมาชิ ก ของ PLC รู้ จั ก วิ ธี ใ ช้ และ/หรื อ มี พี่ เ ลี ย้ งช่ ว ยจั ด กระบวนการ จนกว่ า ครู สมาชิ ก ของ PLC จะใช้ เครื่ องมื อ คล่ อ ง เช่ น • วิ ธี ตั ง้ ค� ำ ถาม Here’s What, So What, Now What ของ Bruce Wellman & Laura Lipton (2004) (http://goo.gl/hVTUeu) • Project Zero Protocol ของ ฮาร์ วาร์ ด (https://goo.gl/qrwJ3J) • Descriptive Review (Blythe, Allen, & Powell, 1999) (https://goo.gl/pKzVVz) อ่านแล้ วผมนึกถึง Peer Assist • Student Work Protocol (Gene Thompson-Grove, 2000) : ระหว่า งการน� ำเอาผลการสอบ ของนัก เรี ย นมาเรี ย นรู้ ร่ วมกัน ใช้ ๗ ค� ำ ถาม เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ หรั บ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ โดย สมาชิกของ PLC พูดอย่างเปิ ดใจ อย่างอิสระ แบบไม่มีถกู ไม่มีผิด ต่อค�ำถามต่อไปนี ้

๙๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑. มี ผ ลใดที่ น่ า สนใจ หรื อน่ า แปลกใจ เพราะอะไร ๒. ส่ ว น ใ ด ที่ ช่ ว ย บ อ ก วิ ธี คิ ด ห รื อ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นั ก เ รี ย น บอกอย่ า งไร ๓. เ พื่ อ น ค รู ไ ด้ ช่ ว ย เ ปิ ด โ ล ก ทั ศ น์ ข อ ง ต น ด้ า น ใ ด อ ย่ า ง ไ ร จะน� า โลกทั ศ น์ ใ หม่ ไปใช้ อย่ า งไร ๔. ผลการเรี ยนของนั ก เรี ยน น� า ไปสู่ ค� า ถามอะไร เกี่ ย วกั บ การสอน และการประเมิ น ๕. ตนเองจะน� า ค� า ถามเหล่ า นี ้ ไปท� า อะไรต่ อ ไป ๖. มี แ ผ น จ ะ ท ด ล อ ง ด� า เ นิ น ก า ร ใ น ห้ อ ง เ รี ย น ข อ ง ต น อย่ า งไรบ้ าง ในด้ าน Culture ครู ต้ องได้ อยู่ ใ นบรรยากาศที่ ไ ม่ ก ลั ว ผิ ด ไ ม่ ก ลั ว ว่ า ผ ล ก า ร ส อ บ ข อ ง ศิ ษ ย์ ที่ ไ ม่ ดี จ ะ ท� า ใ ห้ ต น ถู ก ล ง โ ท ษ ถู ก ดู ถู ก หรื อเสี ย หน้ า และวั ฒ นธรรมการใช้ ข้ อมู ล หลั ก ฐานจาก ผลการสอบ Formative ที่ ใ ช้ ข้ อสอบร่ วม ส� า หรั บ น� า มาขั บ เคลื่ อ น กระบวนการ CQI ของผลการเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ยน

๙๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

วั ฒ นธรรมที่ ต้ องการ คื อ การให้ คุ ณ ค่ าต่ อการพั ฒ นา เ ห นื อ ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ห รื อ R a n k i n g ต้ อ ง ไ ม่ น� ำ ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น นั ก เ รี ย น แ บ บ F o r m a t i v e ม า ใ ช้ จั ด อั น ดั บ ค รู ใ ห ญ่ ค รู ห รื อ เ ข ต พื น้ ที่ ก า ร ศึ ก ษ า เ พ ร า ะ จ ะ ท� ำ ล า ย บ ร ร ย า ก า ศ ข อ ง ค ว า ม รู้ สึ ก ป ล อ ด ภั ย เ ป็ น อิ ส ร ะ ที่ จ ะ ใ ช้ ค ว า ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ โ ด ย ไ ม่ กลั ว ผิ ด ต้ อ ง ส ร้ า ง วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ “ เ อ า เ รื่ อ ง ” ผู้ ที่ ไ ม่ รู้ ร้ อ น รู้ หนาว ต่ อผลการประเมิ น แบบ Formative ไม่ น� ำ ผลการ สอบดั ง กล่ าว มาจั ด กระบวนการแลกเปลี่ ยนเรี ย นรู้ เพื่ อเรี ย นรู้ และพั ฒ นาวิ ธี ท� ำ หน้ าที่ ครู ชื่ อ ข อ ง ต อ น ที่ ๘ คื อ “ พ ลั ง ข อ ง ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ ” ข้ อมู ล หมายถึ ง ข้ อมู ล ผลการสอบของนั ก เรี ยนแบบ Formative ที่ ได้ จาก “ข้ อสอบร่ วม” ที่ พั ฒ นาโดยที ม PLC ส� ำ หรั บน� ำมาใช้ เ ป็ น จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น ใ น ที ม P L C เ พื่ อ แ ป ล ง ไ ป เป็ น “สารสนเทศ” ส� ำ หรั บ ใช้ พั ฒ นา กระบวนการเรี ยนรู้ ของศิ ษ ย์ เพื่ อ ยกระดั บ Learning Outcome กระบวนการที่ ใช้ แปลงข้ อมู ล เป็ นสารสนเทศ คื อ KM หรื อกระบวนการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ในที ม PLC เป็ นกระบวน การที่ น� ำ ไปสู่ การใช้ สารสนเทศไปในตั ว

๙๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

กระบวนการทั ง้ หมดนี ้ ท� า เป็ นวงจรไม่ ร้ ู จบ มี ผ ลยกระดั บ ค ว า ม รู้ ป ฏิ บั ติ ข อ ง ค รู ที่ เ ป็ น ส ม า ชิ ก P L C ผ่ า น ก า ร ท� า ห น้ า ที่ ครู ที่ ศิ ษ ย์ มี ผล การเรี ยนรู้ ที่ ดี ขึ น้ สิ่ งที่ พึ ง ระวั ง ไม่ ยอมให้ มี ก ารท� า เป็ นอั น ขาด คื อ การ C o m m i s s i o n ใ ห้ ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น ผู้ อ อ ก ข้ อ ส อ บ ส� า หรั บ ใช้ เป็ น ข้ อสอบร่ วมของ PLC พึ ง ตระหนั ก ว่ า ขั ้น ตอนของ ก า ร ป รึ ก ษ า ห า รื อ เ พื่ อ อ อ ก ข้ อ ส อ บ ร่ ว ม เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง กระบวนการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ของสมาชิ ก ของ PLC วิ ธี ก ารที่ ผ้ ู บริ หารเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา สนั บ สนุ น PLC จะน� า เสนอในบทต่ อ ไป

๙๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๙๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๙ ประยุกต์ใช้ PLC ทั่วทัéงเขตพืéนที่การศÖกÉา

๑๐๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . ผู ้ บ ริ ห า ร มี ค ว า ม สำí า คั ญ ต ่ อ ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต  ใ ช ้ P L C โ ด ย ¼ู ้ บ ริ ห า ร (ผอ. เขตÏ) ต้ อ งรู ้ ว ่ า บทบาทของตน คื อ อะäรบ้ า ง...”

ตอนที่ ๙ นี จ้ ั บ ความจาก Chapter 8 : Implementing the PLC Process Districtwide

๑๐๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ผู้ อ� ำ นวยการเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษาท่ า นหนึ่ ง (ในสหรั ฐ อเมริ กา) มี ศ รั ท ธ า สู ง ยิ่ ง ใ น P L C ว่ า จ ะ ช่ ว ย ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น เ ข ต พื ้น ที่ ไ ด้ โ ด ย ต้ อ ง ล ง มื อ ท� ำ ใ น ทุ ก โ ร ง เ รี ย น จึ ง เ ริ่ ม ด้ ว ย การให้ ข้ อมู ล แก่ คณะกรรมการเขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา เพื่ อ ขออนุ มั ติ น โ ย บ า ย แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ เ พื่ อ ฝึ ก อ บ ร ม ค รู ใ ห ญ่ ทุ ก ค น ข อ ง โรงเรี ยน ๑๕๐ โรงเรี ยนในเขต รวมทั ง้ ฝึ กอบรมครู แกนน� ำ จากทุ ก โรงเรี ยน งบประมาณนี ้ รวมทั ง้ ค่ า จ้ างครู ๔,๕๐๐ คน มาสอนแทน ระหว่ า งที่ ค รู เข้ ารั บ การอบรมเรื่ อง PLC ผอ. เขตฯ มี ผู้ ช่ ว ย ๕ คน จึ ง มอบหมายให้ ผู้ ช่ ว ยฯ ดู แ ล การด� ำ เนิ น การ PLC คนละ ๓๐ โรงเรี ยน ผู้ ช่ ว ย ฯ ๒ ค น เ อ า จ ริ ง เ อ า จั ง ม า ก เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร อ บ ร ม กั บ ครู ใหญ่ ทุ ก ครั ้ง และช่ ว งพั ก เที่ ยงทุ ก วั น ของการอบรม ก็ ใช้ เวลา กิ น อ า ห า ร เ ที่ ย ง ร่ ว ม กั บ ค รู ใ ห ญ่ เ พื่ อ ส อ บ ท า น ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ ห้ ตรงกั น ว่ า ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ อยู่ ต รงไหน ตั ว ชี ว้ ั ด ความก้ าวหน้ า ส� ำ ห รั บ ผู้ บ ริ ห า ร ใ ช้ ติ ด ต า ม ผ ล P L C คื อ อ ะ ไ ร แ ล ะ ห ลั ง จ า ก นั ้น ๑๐๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รู ใ ห ญ่ ทุ ก ค รั ้ง จ ะ ใ ช้ เ ว ล า ท� ำ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ต อบ ปั ญ หา การด� ำเนิ นการ PLC เป็ น ห ลั ก ผู้ ช่ ว ย ฯ อี ก ๒ ค น มี ค ว า ม เ ชื่ อ ว่ า เ ป็ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ของครู ใหญ่ ที่ จ ะด� ำ เนิ น การ พั ฒ นาคุ ณ ภาพของการศึ ก ษาของ นั ก เรี ยน ผู้ ช่ ว ยฯ มี หน้ าที่ ส่ ง เสริ มให้ ครู ใหญ่ และครู ได้ มี โอกาส รู้ จั ก ห ลั ก ก า ร แ ล ะ แ น ว คิ ด ใ ห ม่ ๆ แ ต่ ต น เ อ ง ไ ม่ ค ว ร ด� ำ เ นิ น ก า ร แ บ บ T o p - D o w n ผู้ ช่ ว ย ฯ ส อ ง ท่ า น นี ้ แ จ้ ง ใ ห้ ค รู ใ ห ญ่ แ ล ะ ค รู แกนน� ำ เข้ ารั บ การอบรม โดยที่ ผ้ ู ช่ ว ยฯ เข้ าบ้ างเป็ นครั ง้ คราว และ ปล่ อ ยให้ ครู ใหญ่ ด� ำ เนิ น การประยุ ก ต์ ใ ช้ PLC เองอย่ า งอิ ส ระ ผู้ ช่ ว ยฯ ท่ า นสุ ด ท้ าย เพี ย งแต่ แ จ้ งครู ใหญ่ ว่ า มี โ ควต้ าให้ ส่ ง คนไปรั บ การอบรมกี่ ค น เมื่ อ ไร เท่ า นั น้ ไม่ สื่ อ สารอย่ า งอื่ น เลย และ ในวั น อบรม ตนเองก็ ไ ม่ เ คยไปร่ ว มแม้ แต่ ค รั ง้ เดี ย ว และพบว่ า ครู ใ หญ่ บ า ง ค น ส่ ง ค รู ห มุ น เ วี ย น กั น เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม ท� ำ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ความเข้ าใจของครู แกนน� ำ ต่ อ PLC ไม่ ต่ อ เนื่ อ ง คื อ ไม่ เ ข้ าใจนั่ น เอง หลั ง ด� ำ เนิ น การ PLC ไปได้ ๒ ปี พบว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ท าง การศึ ก ษาของนั ก เรี ยนในเขต แตกต่ า งกั น มาก ในบางโรงเรี ยน นั ก เ รี ย น มี ผ ล ก า ร เ รี ย น ดี ม า ก แ ล ะ ค รู เ กิ ด ค ว า ม ก ร ะ ตื อ รื อ ร้ น ท� ำ งานร่ วมกั น เป็ นที ม อย่ า งดี นั ก เรี ยนบางคน ที่ เ รี ยนล้ าหลั ง ได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ จากที ม ครู โดยครู ไม่ ต้ องท� ำ งานนอกเวลางานปกติ แต่ มี บ างโรงเรี ยน แทบจะไม่ เ ปลี่ ย นแปลงจากเดิ ม เลย ๑๐๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

นิ ท า น เ รื่ อ ง นี ้ ส อ น ใ ห้ รู้ ว่ า ผู้ บ ริ ห า ร มี ค ว า ม ส� ำ คั ญ ต่ อ การประยุ ก ต์ ใช้ PLC โดยผู้ บริ ห าร (ผอ. เขตฯ) ต้ องรู้ ว่ าบทบาท ของตน คื อ อะไรบ้ าง บทบาทของผู้ บริ หาร (ผอ. เขตฯ) • สร้ าง Shared Knowledge ในหมู่ ก รรมการ ของเขตพื น้ ที่ การศึ ก ษา และครู ใหญ่ โดยการแจกบทความ หนั ง สื อ พ า ไ ป ดู ง า น แ ล ะ ก า ร ป รึ ก ษ า ห า รื อ แ บ บ ส า น เ ส ว น า (Dialogue) • ด� ำ เ นิ น ก า ร ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ ข ต ฯ มี ม ติ ก� ำ ห น ด เ ป็ น นโยบายให้ ใช้ PLC เป็ นเครื่ องมื อพั ฒ นาคุ ณ ภาพของ Learning Outcome ในทุ ก โรงเรี ยน รวมทั ง้ ก� ำหนด งบประมาณสนั บ สนุ น • สร้ างวั ฒ นธรรมการท� ำ งานแบบ “Loose and Tight” คื อ ประกาศอย่ างแน่ วแน่ ชั ดเจน (Tight) ว่ า ทุ ก โ ร ง เ รี ย น ต้ อ ง ท� ำ ห น้ า ที่ เ ป็ น P L C จั ด ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม ครู แกนน� ำ ของแต่ ล ะโรงเรี ยน ให้ เข้ าใจหลั ก การ และ วิ ธี ด� ำ เ นิ น ก า ร แ ต่ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ แ ต่ ล ะ โ ร ง เ รี ย น มี ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ที่ จ ะ ใ ช้ ค ว า ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ข อ ง ที ม ค รู ในการด� ำ เนิ น การ (Loose) ๑๐๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

• จั ด W o r k s h o p ใ ห้ ค รู ใ ห ญ่ แ ล ะ ค รู แ ก น น� ำ ทุ ก ค น ส า น เ ส ว น า กั น ใ น ป ร ะ เ ด็ น ต่ อ ไ ป นี ้ ( ๑ ) เ รื่ อ ง ส� ำ คั ญ สุ ด ยอดของเรา คื ออะไร (Learning Outcome ของ นั ก เรี ยนดี ขึ น้ อย่ า งน่ า พอใจ) (๒) สภาพที่ ต้ องการเห็ น ในแต่ ล ะโรงเรี ยน เป็ นอย่ า งไร (๓) ต้ องท� ำ อย่ า งไรบ้ าง แ ก่ ค น ทั ้ ง โ ร ง เ รี ย น เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ลุ ส ภ า พ ต า ม ข้ อ ๒ ( ๔ ) จ ะ ใ ช้ ตั ว ชี ว้ ั ด อ ะ ไ ร ส� ำ ห รั บ ติ ด ต า ม ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า (๕) การด� ำ เนิ น การ และพฤติ ก รรมของผู้ น� ำ แบบใดบ้ าง ที่ เ ป็ นตั ว ขั ด ขวางเป้ า หมายตามข้ อ ๑ • ต ร ะ ห นั ก อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า ว่ า นี่ คื อ ก า ร จั ด ก า ร การเปลี่ ยนแปลง (เข็ น ครกขึ น้ ภู เ ขา) จึ ง ต้ องเอาใจใส่ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ทุ ก ขั ้ น ต อ น ที่ จ ะ ไ ม่ ใ ห้ แ ร ง ต้ า น การเปลี่ ย นแปลง (ทั ง้ จงใจ และโดยไม่ ร้ ู ตั ว ) เข้ ามา เ ป็ น อุ ป ส ร ร ค ฝ่ า ย เ ข ต พื ้น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ค รู ใ ห ญ่ แ ล ะ ครู แกนน� ำ จึ ง ต้ องร่ วมกั น ประกาศว่ า สิ่ ง ที่ ต้ องการให้ เ กิ ด ขึ ้น ใ น ทุ ก โ ร ง เ รี ย น คื อ ( ๑ ) มี ก า ร จั ด ค รู ท� ำ ง า น ร่ วมมื อกั น (๒) แต่ ล ะที มจั ด การเรี ยนรู้ ให้ ศิ ษ ย์ ทุ ก คน ไ ด้ เ รี ย น รู้ “ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ที่ จ� ำ เ ป็ น ” ( E s s e n t i a l Knowledge and Skills)ไม่ ว่ า นั ก เรี ยนคนนั น้ จะมี ใ คร เป็ นครู ประจ� ำ ชั น้ ซึ่ ง หมายความว่ า ครู ในที ม รั บ ผิ ด ชอบ ๑๐๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น แ ล ะ ร่ ว ม กั น ก� ำ ห น ด “ความรู้ และทั ก ษะที่ จ� ำ เป็ น” ที่ จ ะร่ วมกั น จั ด ให้ นั ก เรี ยน ได้ เรี ยนรู้ อย่ า งสนุ ก สนาน (๓) แต่ ล ะที ม ร่ วมกั น ก� ำ หนด รายละเอี ย ดของ Formative Assessment ที่ จ ะใช้ เป็ น เครื่ องมื อ ติ ด ตาม ความก้ าวหน้ าของการเรี ยน ส� ำ หรั บ น� ำ มาใช้ ปรั บ ปรุ ง การจั ด การเรี ยนการสอน โดยมี ห ลั ก ว่ า ต้ องประเมิ น บ่ อ ยๆ (๔) ก� ำ หนดให้ มี แ ผนอย่ า งเป็ นระบบ ข อ ง ทั ง้ โ ร ง เ รี ย น ส� ำ ห รั บ ช่ ว ย ใ ห้ นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น อ่ อ น หรื อตามไม่ ทั น เรี ยนส� ำ เร็ จตามก� ำ หนด ข้ อ ก� ำ ห น ด ข้ า ง ล่ า ง ทั ง้ ๔ นี ้ เ ป็ น ห ลั ก ก า ร ที่ ก� ำ ห น ด อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ว่ า ต้ อ ง มี ( T i g h t ) แ ต่ วิ ธี ก า ร ด� ำ เ นิ น ก า ร นั ้น ป ล่ อ ย ใ ห้ แ ต่ ล ะ โ ร ง เ รี ย น ใ ช้ ค ว า ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ข อ ง ต น เ อ ง ( L o o s e ) • ไ ม่ น� ำ เ อ า โ ค ร ง ก า ร อื่ น ๆ ม า ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น ห รื อ ค รู ด� ำ เ นิ น ก า ร เ พื่ อ ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ค รู มี โ อ ก า ส ทุ่ ม เ ท ความคิ ด ความเอาใจใส่ ต่ อ PLC ได้ เต็ ม ที่ เพื่ อ ให้ PLC ค่ อ ยๆ กลายเป็ นวั ฒ นธรรมองค์ ก ร ที่ ขั บ เคลื่ อ นคุ ณ ภาพ ข อ ง ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น เป็ น Happy Workplace ทั ง้ ต่ อ นั ก เรี ยน ครู และผู้ บริ หาร ๑๐๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ด� า เ นิ น ก า ร ต่ อ เ นื่ อ ง ยั่ ง ยื น เ ป็ น ว ง จ ร ไ ม่ รู้ จ บ ซึ่ ง ก็ คื อ โรงเรี ยนพั ฒ นาขึ น้ เป็ น Learning Organization หรื อ องค์ ก รเรี ยนรู้ นั่ น เอง • สร้ างพลั ง ศั ก ยภาพ (Empower) แก่ ค รู ใหญ่ ให้ เป็ นผู้ น� า การพั ฒ นา PLC ได้ อย่ า งแท้ จริ ง โดย ๐ ใ ห้ ไ ด้ เ ข้ า ฟั ง ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ข้ า W o r k s h o p จ น เข้ าใจ PLC ในระดั บ ที่ ลึ ก ซึ ง้ ๐ ไปดู ง านโรงเรี ยนที่ ร ะบบ PLC ด� า เนิ น การได้ ผลดี ม าก ๐ จั ด ให้ มี PLC ของครู ใหญ่ ใ นเขตพื น้ ที่ ๐ จั ด สรรทรั พ ยากรให้ ๐ เ ป ลี่ ย น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ป ร ะ จ� า เ ดื อ น ค รู ใ ห ญ่ ข อ ง เ ข ต ฯ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม P L C ข อ ง ค รู ใ ห ญ่ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เป็ นเวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ยนรู้ ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง แต่ ล ะโรงเรี ยน ๐ ประเมิ น ความก้ าวหน้ า

๑๐๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๐ จั ด ให้ ส� ำ นั ก งานเขตพื น้ ที่ ก าร ศึ ก ษาเป็ น P L C ต น เ อ ง ต้ อ ง ท� ำ ด้ ว ย จึ ง จ ะ เ ข้ า ใ จ P L C ใ น มิ ติ ที่ ลึ ก จ น ส า ม า ร ถ ห นุ น P L C ใ น โ ร ง เ รี ย น ไ ด้ อย่ า งถู ก ต้ อง ๐ ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ ว่ า ก� ำ ลั ง ขั บ เ ค ลื่ อ น ใ ห้ โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น L e a r n i n g O r g a n i z a t i o n ดั ง นั ้น ต้ อ ง ไ ม่ ท� ำ M i c r o m a n a g e แ ก่ โ ร ง เ รี ย น ต้ อ ง ใ ช้ ห ลั ก ก า ร T i g h t - L o o s e เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น ไ ด้ ฝึ ก ค ว า ม ริ เ ริ่ ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ บริ หาร PLC ในโรงเรี ยนแบบ Tight - Loose เช่ น เดี ย วกั น • ร่ ว ม กั บ P L C ค รู ใ ห ญ่ ท� ำ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ขั ้ น ต อ น พั ฒ น า ก า ร ข อ ง P L C แ ล ะ ร่ ว ม กั น อ อ ก แ บ บ การประเมิ น ความก้ าวหน้ า เป็ นระยะๆ ตามขั ้น ตอน ของพั ฒ นาการ ซึ่ ง มี ๕ ขั น้ คื อ (๑) ขั ้น ก่ อนเริ่ ม (๒) ขั ้ น เ ริ่ ม ยั ง ไ ม่ ไ ด้ C r i t i c a l M a s s ข อ ง ค รู ( ๓ ) ขั ้ น ด� ำ เนิ น การ มี ค รู จ� ำ นวนมากเข้ าร่ วม เป็ นการแสดง ความร่ วมมื อ แต่ ยั ง ไม่ ถึ ง ขั ้น ได้ ใจ ยั ง ไม่ มี ค วามมั่ นใจ

๑๐๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

( ๔ ) ขั ้ น พั ฒ น า เ ริ่ ม ไ ด้ ใ จ ค รู เ พ ร า ะ เ ริ่ ม เ ห็ น ผ ล ครู เปลี่ ยนค� า ถามจาก “ท� า ไมต้ องท� า ” เป็ น “จะท� า ให้ ได้ ผลดี ย่ ิ งขึ ้น ได้ อย่ างไร” (๕) ขั ้น ยั่ งยื น วิ ธี ก าร PLC กลายเป็ นงานประจ� า ฝั งอยู่ ในวั ฒ นธรรมองค์ กร ตั ว ชี ว้ ั ด เพื่ อบอกว่ า PLC ข อ ง เขตพื น้ ที่ / โ ร ง เรี ย น พั ฒ น า ไปถึ ง ขั น้ ใด ใช้ ๔ ตั ว ชี ว้ ั ด ตามในตาราง

๑๐๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๐ วิ¸ีจัดการความเหçนพ้อง และความขัดแย้ง

๑๑๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . ห ลั ก ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม ขั ด แ ย ้ ง คื อ ทí า ให้ ค วามäม่ เ หç น พ้ อ ง เป็ น เรื่ อ ง¸รรมดา นí า เอาความäม่ เ ห็ น พ้ อ ง มาเป ด เผย และ ใ ช ้ เ ป ็ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ก า ร ทำí า ง า น ทำี่ จ ะäม่ ทำí า ให้ เ กิ ด ความยุ ่ ง ยากบางอย่ า ง ทำี่ ผู ้ เ ห็ น พ ้ อ ง นึ ก ä ม ่ ถึ ง แ ต ่ ผู ้ ä ม ่ เ ห็ น พ ้ อ ง กั ง วลใจ คื อ ใช้ พ ลั ง ลบ ให้ เ ป็ น พลั ง บวก ของการสำร้ า งการเปลี่ ย นแปลง...”

ตอนนี ้ จั บ ความจาก Chapter 9 : Consensus and Conflict in a Professional Learning Community ๑๑๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ผมอ่ า นหนั ง สื อ บทนี ้ แล้ วบอกตั ว เองว่ า นี่ คื อ สุ ด ยอดของ ห ลั ก ก า ร ว่ า ด้ ว ย ก า ร จั ด ก า ร ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ วิ ธี จั ด ก า ร นั ก ต่ อ ต้ านการเปลี่ ย นแปลง ไม่ ใ ห้ เข้ ามาท� ำ ลาย บรรยากาศของ การสานฝั น เพราะโดยวิ ธี นี ้ ผู้ ไม่ เ ห็ น ด้ วย ก็ ไ ด้ รั บ โอกาสแสดงออก อย่ า งเต็ ม ที่ แต่ เ ขาต้ องยอมรั บ ความเห็ น ของคนอื่ นด้ วย ไม่ ใ ช่ ดั น ทุ รั งกั บ ความเห็ น ของตนโดยไม่ ฟั ง ไม่ เ คารพความเห็ น ของ ครู ส่ ว นใหญ่ ผมชอบวิ ธี อ อกเสี ย ง แบบ “ก� ำ ปั ้น หรื อ นิ ว้ ” (Fist or Fingers) ที่ ท� ำ หลั ง จากครู ร่ วมกั น ท� ำ ความเข้ าใจ PLC อย่ า งทะลุ ป รุ โปร่ ง ด้ ว ย วิ ธี ป ร ะ ชุ ม แ บ บ “ แ บ่ ง ส อ ง ก ลุ่ ม ” ผ ม มี ค ว า ม เ ห็ น เ พิ่ ม เ ติ ม ว่ า น อ ก จ า ก ป ร ะ ชุ ม แ บ บ แ บ่ ง ส อ ง ก ลุ่ ม แ ล้ ว ค รู ค ว ร ใ ช้ เ ท ค นิ ค ก า ร ป ร ะ ชุ ม แ บ บ ส ว ม ห ม ว ก ห ก ใ บ ด้ ว ย โ ด ย แ บ่ ง ก ลุ่ ม เ ป็ น กลุ่ ม ละ ๑๐ คน (แบบสุ่ ม ) เพื่ อ ใช้ วิ ธี ประชุ ม โดยใช้ ความคิ ด แบบหมวก ๖ ใบ ท� ำ ความเข้ าใจใน มิ ติ ที่ ร อบด้ าน (ผมเคยบั น ทึ ก วิ ธี ป ระชุ ม แบบนี ้ ไว้ ที่ https://goo.gl/RZEJla) แล้ วจึ ง ออกเสี ย ง ลงมติ แ บบ “ก� ำ ปั ้น หรื อนิ ว้ ” ๑๑๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

การประชุ ม แบบ “แบ่ ง สองกลุ่ ม ” ท� ำ โดย แบ่ ง ครู (แบบสุ่ ม ) ออกเป็ นสองกลุ่ ม คื อ กลุ่ ม เห็ น ด้ วย กั บ กลุ่ ม คั ด ค้ าน ให้ กลุ่ ม เห็ น ด้ ว ย ร ะ ด ม ค ว า ม คิ ด ห า เ ห ตุ ผ ล ที่ ท� ำ ใ ห้ เ ห็ น ด้ ว ย กั บ เ ป้ า ห ม า ย ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ม า ต ร ก า ร เ พื่ อ ใ ช้ P L C ย ก ร ะ ดั บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ของการเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ยน และให้ กลุ่ ม ไม่ เ ห็ น ด้ วย ระดมความคิ ด ห า เ ห ตุ ผ ล ที่ ท� ำ ใ ห้ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ย แ ล้ ว จึ ง ใ ห้ ก ลุ่ ม แ ร ก น� ำ เ ส น อ ผ ล ก า ร ป ร ะ ชุ ม ก ลุ่ ม จ บ แ ล้ ว ใ ห้ ส ม า ชิ ก ข อ ง ก ลุ่ ม ห ลั ง ช่ ว ย เ พิ่ ม เ ติ ม เหตุ ผ ลที่ ท� ำ ให้ เห็ น ด้ วย หลั ง จากนั น้ ให้ กลุ่ ม หลั ง น� ำ เสนอ ตามด้ วย การเพิ่ ม เติ ม เหตุ ผ ลที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ วย โดยสมาชิ ก ของกลุ่ ม แรก ก า ร อ อ ก เ สี ย ง แ บ บ “ ก� ำ ปั ้ น ห รื อ นิ ้ว ” มี ค ว า ม ห ม า ย ดั ง นี ้ ชู ๕ นิ ้ ว : ฉั น ชอบกิ จ กรรมนี ้ และอาสาเป็ นแกนน� ำ ชู ๔ นิ ้ ว : ฉั น เห็ น ด้ วยอย่ า งยิ่ ง ชู ๓ นิ ้ ว : ฉั น เห็ น ด้ วย และยิ น ดี ร่ วมมื อ ชู ๒ นิ ้ ว : ฉั น ยั ง ไม่ แ น่ ใ จ ยั ง ไม่ ส นั บ สนุ น ชู ๑ นิ ้ ว : ฉั น ไม่ เ ห็ น ด้ วย ชู ก� ำ ปั ้ น : หากฉั น มี อ� ำ นาจ ฉั น จะล้ มโครงการนี ้

๑๑๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

การออกเสี ย งแบบเปิ ดเผย ก็ มี ข้ อดี ข้ อเสี ย แล้ วแต่ ส ถานการณ์ หากเหมาะสม อาจโหวตลั บ ก็ ไ ด้ ถ้ าเสี ย งก� ำ้ กึ่ ง ไม่ ค วรด� ำ เนิ น การ ทั ง้ โรงเรี ย น ควรท� ำ เป็ นโครงการทดลองไปก่ อ น โดยกลุ่ ม ครู ที่ เ ห็ น ด้ วย หลั ก การจั ด การความขั ด แย้ ง คื อ ท� ำ ให้ ความไม่ เ ห็ น พ้ อง เป็ นเรื่ องธรรมดา น� ำ เอาความไม่ เ ห็ น พ้ อง มาเปิ ดเผย และใช้ เป็ น รายละเอี ย ด ของการท� ำ งานที่ จ ะไม่ ท� ำ ให้ เกิ ด ความยุ่ ง ยากบางอย่ า ง ที่ ผ้ ู เห็ น พ้ องนึ ก ไม่ ถึ ง แต่ ผ้ ู ไม่ เ ห็ น พ้ องกั ง วลใจ คื อ ใช้ พลั ง ลบ ให้ เป็ น พลั ง บวก ของการสร้ างการเปลี่ ย นแปลง การจั ด การการเปลี่ ย นแปลง ไม่ ส ามารถท� ำ ภายใต้ เงื่ อ นไข ว่ า ต้ องได้ รั บ ฉั น ทามติ จ ากทุ ก คน เพราะเงื่ อ นไขนั น้ เป็ นเงื่ อ นไข เพื่ อ ด� ำ รงสถานะเดิ ม (Status Quo) ท� ำ อ ย่ า ง ไ ร กั บ ค น ที่ มี ค ว า ม เ ห็ น คั ด ค้ า น ค� ำ แ น ะ น� ำ คื อ อ ย่ า ส น ใ จ ค ว า ม เ ห็ น ใ ห้ ส น ใ จ พ ฤ ติ ก ร ร ม ค ว า ม เ ห็ น ไ ม่ ต ร ง กั น ไม่ เ ป็ นไร หากร่ ว มกั น ท� ำ เป็ น ใช้ ได้ จริ งๆแล้ วควรเคารพความเห็ น ที่ ต่ า ง ควรแสดงให้ ทุ ก คนเห็ น ว่ า ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลง ที่ ซั บ ซ้ อ น เ ช่ น นี ้ มี ค ว า ม เ ห็ น ที่ แ ต ก ต่ า ง ห ล า ก ห ล า ย ด้ า น ม า ก แต่ เ พื่ อ ประโยชน์ ต่ อ การริ เ ริ่ ม การเปลี่ ย นแปลง ต้ องหยิ บ เอาบางด้ าน มาท� ำ ก่ อ น แล้ วในโอกาสต่ อ ไป อี ก บางด้ าน จะได้ รั บ ความเอาใจใส่ และหยิ บ มาด� ำ เนิ น การตามขั น้ ตอน

๑๑๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

วิ ธี ประชุ ม ให้ ได้ มองรอบด้ านร่ วมกั น ท� า โดยการประชุ ม ระดมความคิ ด โดยใช้ การคิ ด แบบหมวกหกใบ อ่ า น บ ท นี ้แ ล้ ว ท� า ใ ห้ ผ ม เ ห็ น ว่ า ใ น ว ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สหรั ฐ อเมริ ก า ยั ง ไม่ เ ก่ ง เรื่ อ ง Change Management แม้ จะมี ห นั ง สื อ และผลงานวิ จั ย ว่ า ด้ วยเรื่ อ งนี ม้ ากมาย วิ ธี จั ด การแบบไม่ ต้ องจั ด การ ต่ อ การต่ อ ต้ าน การเปลี่ ย นแปลง คื อ การจั ด เวที ชื่ น ชมให้ รางวั ล และแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ เรื่ อ งราวของ ความส� า เร็ จ เล็ ก (SSS – Success Story Sharing) เพื่ อ ท� า ให้ เสี ย ง ของความกระตื อ รื อ ร้ น ความสนุ ก สนานชื่ น ชมยิ น ดี หรื อ เสี ย งเชิ ง บวก กลบเสี ย งโอดครวญ ของนั ก คิ ด เชิ ง ลบ ไม่ ใ ห้ มาท� า ลายบรรยากาศ ของความสร้ างสรรค์ ไปสู่ ก ารพั ฒ นา เพื่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก เรี ยน กลยุ ท ธนี ้ เป็ นที่ ร้ ู จั ก กั น แพร่ ห ลายในประเทศไทย ส่ ว น ห นึ่ ง น่ า จ ะ ม า จ า ก ห นั ง สื อ ผู้ บ ริ ห า ร อ ง ค์ ก ร อั จ ฉ ริ ย ะ ฉบับ นัก ปฏิ บัติ อ่ า นบทวิ จ ารณ์ ห นัง สื อ เล่ ม นี ้ ได้ ที่ http://goo.gl/VH5sRi

๑๑๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๑ ชุมชนแห่ง¼ู้น�

๑๑๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . เ ป ‡ า ห ม า ย ข อ ง P L C คื อ ก า ร เปลี่ ย นแปลงในระดั บ Transformation โ ด ย ทำี่ เ ป ็ น ก า ร เ ป ลี่ ย น ä ป เ รี ย น รู ้ ä ป ต่อเนื่ องäม่สำิ้ นสำุด...”

ตอ น นี ้ จั บ คว า มจา ก C hapter 10 : The C omplex Challenge of Creating P r of essional Lear ning C om m unit ies ซึ่ ง เ ป็ นบ ทสุ ด ท้ ายของหนั ง สื อ ๑๑๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

เ ค ล็ ด ลั บ สู่ ค ว า ม ส� ำ เ ร็ จ ข อ ง P L C คื อ ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ความเป็ นผู้ น� ำ ในหมู่ ครู ให้ ออกมาโลดแล่ น สร้ างความริ เริ่ ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เ พื่ อ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ย ก ร ะ ดั บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง นั ก เรี ยน P L C คื อ เ ค รื่ อ ง มื อ ใ ห้ ค รู ทุ ก ค น ไ ด้ มี โ อ ก า ส เ ป็ น ผู้ น� ำ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง โ ด ย มี เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ที่ ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นั ก เรี ยน แต่ จ ริ งๆ แล้ วยั ง มี ผ ลลั พ ธ์ ที่ ก ารเปลี่ ย นแปลงโรงเรี ยน โดยสิ น้ เชิ ง (School Transformation) อี ก ด้ วย วิ ธี ท� ำ งานเปลี่ ย นไป ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลเปลี่ ย นไป วั ฒ นธรรมองค์ ก รเปลี่ ย นไป โ ร ง เ รี ย น ก ล า ย เ ป็ น อ ง ค์ ก ร เ รี ย น รู้ ผู้ ค น จ ะ ไ ม่ ห ว ง ความรู้ จะมี ก ารแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู้ ระหว่ างกั น อย่ างเข้ มข้ น และไม่ เป็ นทางการ บทนี ใ้ ห้ ค� ำ แนะน� ำ แก่ ค รู ใ หญ่ และผู้ อ� ำ นวยการเขตการศึ ก ษา ว่ า ต้ องเป็ นผู้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง และใช้ ยุ ท ธศาสตร์ ผู้ น� ำ รวมหมู่ ไม่ ใ ช่ ผ้ ู น� ำ เดี่ ย ว และยามที่ ต้ องยื น หยั ด ก็ ต้ องกล้ ายื น หยั ด

๑๑๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

การเปลี่ ยนแปลงทั ้ง ๗ หมวด เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง P L C คื อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น ร ะ ดั บ Transformation โดยที่ เป็ นการเปลี่ ยนไปเรี ยนรู้ ไป ต่ อเนื่ อง ไม่ สิ น้ สุ ด ใน ๗ หมวดต่ อ ไปนี ้

๑๑๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๒๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . â ร ง เ รี ย น ก ล า ย เ ป ็ น อ ง ค ์ ก ร เ รี ย น รู ้ ผู ้ ค นจะäม่ ห วงความรู ้ จะมี ก ารแลกเปลี่ ย น เรี ย นรู ้ ร ะหว่ า งกั น อย่ า งเข้ ม ข้ น และäม่ เป็ น ทำางการ...”

๑๒๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๒๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๑๒๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๒๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ค� า แนะน� า แก่ ครู ใหญ่ และ ผอ. เขตการศึ ก ษา • เชื่ อ มโยงการเปลี่ ย นแปลง เข้ ากั บ สถานการณ์ ปั จจุ บั น อย่ า จั ด กา รการเปลี่ ย นแ ปล ง บน พื น้ ฐาน ขอ ง ห ลั ก ก าร ให้ อยู่ กั บ ความเป็ นจริ ง • เริ่ ม ด้ วยเหตุ ผ ล เชิ ง อุ ด มการณ์ (Why) แล้ วเข้ าสู่ ป ฏิ บั ติ ก าร จริ งโดยเน้ น How • ท� า ให้ การกระท� า กั บ ค� า พู ด ไปทางเดี ย วกั น และส่ ง เสริ ม กั น แน่ ว แน่ ที่ ป ณิ ธ าน และเป้ า หมาย ยื ด หยุ่ น ที่ วิ ธี ก าร • ใช้ ภาวะผู้ น� า รวมหมู่ • จงคาดหวั ง ว่ า จะมี ค วามผิ ด พลาด จนเตรี ยมเรี ยนรู้ จาก ความผิ ด พลาด • เรี ย นรู้ จากการลงมื อ ท� า • สร้ างขวัญ ก� า ลัง ใจ และความฮึ ก เหิ ม โดยการเฉลิ ม ผลส� า เร็ จ เล็ ก ๆ ตามเป้ า หมายรายทาง

๑๒๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๒ สรุป (จบ)

๑๒๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“...âรงเรี ย นจะเปลี่ ย นäปเป็ น Happy Workplace และ Learnin Organization «ึ่ ง หมายความว่ า PLC จะดí า เนิ น การ เปลี่ ย นแปลงแก่ นั ก เรี ย น ครู ผู ้ บ ริ ห าร และโรงเรี ย น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งäม่ ห ยุ ด ยั้ ง ...”

ตอน นี เ้ ป็ น AAR ของผม ห ลั ง อ่ า น หนั ง สื อ เ ล่ ม นี จ้ บ ทั ง้ เ ล่ ม

๑๒๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ผมสรุ ปว่ า PLC เป็ นเครื่ องมื อ ของ การเปลี่ ยนชี วิ ต ครู เปลี่ ยนจาก “ผู้ สอน” (Teacher) เป็ น “นั ก เรี ยน” (Learner) เปลี่ ย นจากโดดเดี่ ย ว เป็ นมี เ พื่ อ นมี ก ลุ่ ม รวมตั ว กั น เป็ นชุ ม ชน ท� ำ งาน แบบปรึ กษาหารื อ และช่ ว ยเหลื อ กั น โดยมี เ ป้ า หมายที่ เ ด็ ด เดี่ ย ว ชั ด เจน คื อ ผลการเรี ยน 21st Century Skills ของศิ ษ ย์ ทุ ก คน มี การจั ด การเรี ย นเสริ ม แก่ ศิ ษ ย์ ที่ เ รี ย นไม่ ทั น ให้ กลั บ มาเรี ย นทั น โรงเรี ยนเปลี่ ย นสภาพเป็ น PLC เขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษาเปลี่ ย น เ ป็ น P L C ซึ่ ง แ ป ล ว่ า เ ป็ น L e a r n i n g O r g a n i z a t i o n นั่ น เ อ ง การเปลี่ ยนแปลงเหล่ านี ้ เกิ ด ขึ ้น ในระดั บ Transformation คื อ เปลี่ ยนอย่ างถึ ง รากถึ ง โคน เปลี่ ยนระดั บ จิ ต วิ ญ ญาณ และ วั ฒ น ธ ร ร ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ ห้ ก ลั บ ไ ป อ่ า น ตารางในตอนที่ ๑๑ ผมสรุ ป ว่ า PLC เป็ นเครื่ อ งมื อ ของการเปลี่ ย นชี วิ ต ครู เปลี่ ย น จาก “ผู้ สอน” (Teacher) เป็ น “นั ก เรี ยน” (Learner) เปลี่ ย นจาก โดดเดี่ ย ว เป็ นมี เ พื่ อ นมี ก ลุ่ ม รวมตั ว กั น เป็ นชุ ม ชน ท� ำ งานแบบ ปรึ ก ษาหารื อ และช่ ว ยเหลื อ กั น โดยมี เ ป้ า หมายที่ เ ด็ ด เดี่ ย วชั ด เจน คื อ ผลการเรี ย น 21st Century Skills ของศิ ษ ย์ ทุ ก คน มี ก ารจั ด การเรี ย น เสริ มแก่ ศิ ษ ย์ ที่ เ รี ยนไม่ ทั น ให้ กลั บ มาเรี ยนทั น ๑๒๘

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

โรงเรี ย นเปลี่ ย นสภาพเป็ น PLC เขตพื น้ ที่ ก ารศึ ก ษา เปลี่ ย นเป็ น PLC ซึ่ ง แปลว่ า เป็ น Learning Organization นั่ น เอง การเปลี่ ย นแปลง เหล่ า นี ้ เกิ ด ขึ น้ ในระดั บ Transformation คื อ เปลี่ ย นอย่ า งถึ ง ราก ถึ ง โคน เปลี่ ย นระดั บ จิ ต วิ ญ ญาณและวั ฒ นธรรม รายละเอี ย ดของ การเปลี่ ย นแปลงให้ กลั บ ไปอ่ า นตารางในตอนที่ ๑๑ โดยสรุ ป โรงเรี ยนจะเปลี่ ยนไปเป็ น Happy Workplace และ Learning Organization ซึ่ ง หมายความว่ า PLC จะด� า เนิ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ก่ นั ก เ รี ย น ค รู ผู้ บ ริ ห า ร แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น อย่ างต่ อเนื่ องไม่ หยุ ด ยั ้ง PLC จึ ง เป็ นเครื่ อ งมื อ เพื่ อ การบั น เทิ ง ชี วิ ต ครู ตามหั ว ข้ อของ บั น ทึ ก ชุ ด นี ้ ที่ มี ๑๒ ตอน ชี วิ ต ข อ ง ค รู เ พื่ อ ศิ ษ ย์ เ ป็ น ชี วิ ต ที่ บั น เ ทิ ง รื่ น เ ริ ง ใ จ แ ล ะ ใ ห้ ความสุ ข ทางใจอย่ า งหางานอื่ น เปรี ยบได้ ยาก แม้ ในบางช่ ว งจะมี คลื่ น ลมบ้ างก็ ต าม

๑๒๙

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๓ ประสบการณ์การประยุกต์ ใช้ในประเทศäทย

๑๓๐

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

“ . . . ก า ร เ รี ย น รู ้ เ ป ็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ทำี่ «ั บ «้ อ น เรี ย นเทำ่ า äรก็ ä ม่ จ บ จะเข้ า ใจลึ ก และเชื่ อ มโยงต้ อ งเรี ย น จากการปฏิ บั ติ (Action) ตามด้ ว ยการäตร่ ต รองสำะทำ้ อ น คิ ด (Reflection) โดยจะให้ ง ่ า ย ต้ อ งทำí า เป็ น ทำี ม นี่ คื อ เส้ น ทางสู ่ ส ภาพ “รู ้ จ ริ ง ” กระบวนการ PLC จึ ง เป็ น กระบวนการ เพื่ อ การ “รู ้ จ ริ ง ” ของคนในวิ ช าชี พ ครู . ..”

ตอน นี เ้ ป็ น AAR ของผม ห ลั ง อ่ า น หนั ง สื อ เ ล่ ม นี จ้ บ ทั ง้ เ ล่ ม

๑๓๑

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

ข้ อ ค ว า ม ข้ า ง ต้ น ทั ง้ ๑ ๑ ต อ น ที่ ผ่ า น ม า ไ ด้ เ ผ ย แ พ ร่ อ อ ก สู่ สั ง คมไทย ใน บล็ อ ก Gotoknow ตอนปลายปี ๒๕๕๔ และน� ำ ลงพิ ม พ์ เผยแพร่ ใ น หนั ง สื อ วิ ถี ส ร้ างการเรี ย นรู้ เพื่ อ ศิ ษ ย์ ใ นศตวรรษที่ ๒๑ 2 (https://goo.gl/rvVZNk) ยกเว้ นตอนที่ ๖ ที่ เ ขี ย นใหม่ เนื่ อ งจากใน ต้ นฉบั บ เดิ ม หายไป ในช่ ว งเวลา ๔ ปี ที่ ผ่ า นมา ข้ อเขี ย นนี ้ ได้ เผยแพร่ ออกไป กว้ างขวางมากในสัง คมไทย มี ก ารน� ำ หลัก การ และวิ ธี ก ารไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น โ ร ง เ รี ย น จ� ำ น ว น ห นึ่ ง แ ล ะ พ บ ว่ า ไ ด้ ผ ล ดี มี ก า ร บั น ทึ ก อ อ ก เ ผ ย แ พ ร่ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น G o t o k n o w ม า ก ม า ย ใ น ชื่ อ P L C ( h t t p s : / / g o o . g l / 3 G O I 2 e ) แ ล ะ ใ น ชื่ อ L e s s o n S t u d y (https://goo.gl/1Q2nd8) โรงเรี ย นล� ำ ปลายมาศพั ฒ นา น� ำ PLC ไปใช้ และผู้ อ� ำ นวยการ โรงเรี ย น วิ เ ชี ย ร ไชยบั ง เขี ย นไว้ ในหนั ง สื อ จิ ต ศึ ก ษา พั ฒ นาปั ญ ญา ภายใน พิ ม พ์ ค รั ง้ ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ในบทที่ ๒ การสร้ างความ เ ป็ น ชุ ม ช น ซึ่ ง เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง P L C จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ต ร ง ข อ ง โรงเรี ย นล� ำ ปลายมาศพั ฒ นา และโรงเรี ย นในเครื อ ข่ า ยอี ก จ� ำ นวนหนึ่ ง ๑๓๒

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

02 หนั ง สื อ วิ ถี ส ร้ างการเรี ย นรู้ เพื่ อ ศิ ษ ย์ ในศตวรรษที่ ๒๑ จั ด พิ ม พ์ ขึ น้ ในปี ๒๕๕๔ โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

๑๓๓

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

โดยในหน้ า ๔๕ ระบุ ว่ า “เวลา ๑๖.๐๐ น. เป็ นต้ นไป เป็ นกิ จ กรรม ครู : S&L, AAR, BAR ครู ร่ ว มกั น แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ สรุ ป หรื อ เตรี ย ม การส� ำ หรั บ วั น ต่ อ ไป” จะเห็ น ว่ า ครู ข องโรงเรี ย นล� ำ ปลายมาศพั ฒ นา มี กิ จ กรรม PLC ทุ ก วั น ใน เวที พู น พลัง ครู ครั ง้ ที่ ๑ ระหว่ า งวัน ที่ ๑๔ - ๑๕ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ จั ด โดยมู ล นิ ธิ ส ยามกั ม มาจล ร่ ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ย รวม ๒๒ องค์ ก ร (https://goo.gl/6oOUhj) ครู ต้ นเรื่ องสอนลั ก ษณะนิ สั ย ที่ ดี และโรงเรี ย นต้ นแบบ ต่ า งก็ เ ล่ า ว่ า ตนใช้ PLC ในการพั ฒ นาการ เรี ยนรู้ ในห้ องเรี ยนของตน ให้ เป็ นแบบ Active Learning โดยใช้ การเรี ยนแบบ PBL (Project-Based Learning) โรงเรี ยนที่ มี การเปลี่ ย นรู ปแบบการเรี ยนรู้ ทั ง้ โรงเรี ยน มี ผ้ ู อ� ำ นวยการโรงเรี ยน เป็ นผู้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง จั ด ปั จ จั ย เอื อ้ หรื อ สนั บ สนุ น การรวมตั ว กั น เรี ย นรู้ ของครู ใ นรู ป แบบ PLC ตามที่ ร ะบุ ใ น บล็ อ ก และในหนั ง สื อ วิ ถี สร้ างการเรี ย นรู้ เพื่ อ ศิ ษ ย์ ใ นศตวรรษที่ ๒๑ ดั ง กล่ า วแล้ ว จากการไปสั ง เกต กระบวนการในห้ องเรี ยน และจากการ สั ง เกตในเวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ยนรู้ ของครู ไทย ที่ ท� ำ หน้ าที่ ค รู โดยใช้ กระบวนการ PLC ผมสรุ ป ว่ า ครู ที่ เ ปลี่ ย นมาสอนแบบใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า Active Learning ให้ ศิ ษ ย์ ไ ด้ ท� ำ และคิ ด โดยครู เ ปลี่ ย นมาท� ำ หน้ าที่ “โคช” หรื อ “คุ ณ อ� ำ นวย” แล้ ว ครู น� ำ เอาข้ อสั ง เกต จากห้ องเรี ยน

๑๓๔

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ม า แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น เ พื่ อ ห า ท า ง จั ด ห้ อ ง เ รี ย น แ ล ะ จั ด กระบวนการให้ น่ า สนใจ ให้ นั ก เรี ยนได้ บรรลุ ผ ลลั พ ธ์ การเรี ยนรู้ ที่ ก� ำ หนดไว้ โดยบรรลุ ใ นระดั บ ลึ ก และเชื่ อ มโยง ที่ เ รี ย กว่ า “รู้ จริ ง ” (Mastery Learning) ครู เหล่ า นี ม้ ี ค วามสุ ข นั ก เรี ยนก็ มี ค วามสุ ข และพ่ อ แม่ ก็ มี ค วามสุ ข เพราะเห็ น ชั ด เจนกั บ ตาว่ า ลู ก ของตนมี ความประพฤติ ดี ขึ น้ ดั ง ตั ว อย่ า ง โรงเรี ยนในโครงการ โรงเรี ยน สุข ภาวะ (https://goo.gl/YQFxQZ) และโรงเรี ย นอื่ น ๆ อี ก จ� ำ นวนมาก การเรี ย นรู้ เป็ นกระบวนการที่ ซั บ ซ้ อน เรี ย นเท่ า ไรก็ ไ ม่ จบ จะเข้ าใจลึ ก และเชื่ อมโยงต้ องเรี ย นจาก การปฏิ บั ติ (Action) ตามด้ วยการไตร่ ตรองสะท้ อนคิ ด (Reflection) โดยจะให้ ง่ าย ต้ องท� ำ เป็ นที ม นี่ คื อ เส้ นทางสู่ สภาพ “รู้ จริ ง ” กระบวนการ PLC จึ ง เป็ นกระบวนการ เพื่ อ การ “รู้ จริ ง ” ของคนในวิ ช าชี พ ครู โรงเรี ยนในระบบราชการไทย ที่ ด� ำ เนิ น การปฏิ รู ป การเรี ยนรู้ ได้ ผลดี เท่ า ที่ มี อ ยู่ ใ นปั จจุ บั น เกิ ด จากผู้ อ� ำ นวยการโรงเรี ยน เป็ น ผู้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง (Change Agent) และด� ำ เนิ น การจั ด การ การเปลี่ ย นแปลงทั ง้ สิ น้ และเครื่ อ งมื อ ที่ ผ้ ู บริ ห ารใช้ ในการเปลี่ ย นใจ ครู ในเบื อ้ งต้ น คื อ การประชุ ม ปฏิ บั ติ ก ารจิ ต ตปั ญญาศึ ก ษา ๓ วั น ๒ คื น และยั ง ใช้ เป็ นประจ� ำ วั น ในตารางจั ด การเรี ยนรู้ ของนั ก เรี ยน รวมทั ง้ ในการจั ด การประชุ ม PLC ของครู ด้ วย

๑๓๕

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

โรงเรี ยนล� า ปลายมาศพั ฒ นา เรี ยกชื่ อว่ า จิ ต ศึ ก ษา และ เขี ย นเล่ า รายละเอี ย ดไว้ ในหนั ง สื อ จิ ต ศึ ก ษา พั ฒ นาปั ญญาภายใน พิ ม พ์ ค รั ้ง ที่ ๒ ( พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๘ ) เ ค รื่ อ ง มื อ อี ก ชิ น้ ห นึ่ ง ที่ โ ค ร ง ก า ร เพาะพั น ธุ์ ปั ญญา (https://goo.gl/84HtYr/) ใช้ คื อ การประชุ ม ป ฏิ บั ติ ก า ร S y s t e m s T h i n k i n g โ ด ย ผู้ อ� า น ว ย ก า ร โ ค ร ง ก า ร รศ. ดร. สุ ธี ร ะ ประเสริ ฐ สรรพ์ เป็ นวิ ท ยากรเอง ใช้ เวลา ๓ วั น ๒ คื น เช่ น เดี ย วกั น ได้ พิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า เครื่ อ งมื อ ทัง้ สองชิ น้ ประสบความส� า เร็ จ ในการพลิ ก ฟื ้ น หรื อกระตุ้ นวิ ญ ญาณครู ให้ ครู ร่ ว มมื อ กั น ด� า เนิ น การ เปลี่ ย นแปลงวิ ธี ท� า หน้ าที่ ค รู เพื่ อ ให้ ศิ ษ ย์ บ รรลุ ผ ลลั พ ธ์ การเรี ยนรู้ ที่ ยกระดั บ ขึ น้ ในบริ บทไทย การเรี ยนรู้ ของครู ที่ ส� า คั ญ ยิ่ ง อย่ า งหนึ่ ง คื อ เ รี ย น รู้ วิ ธี เ อื อ้ อ� า น า จ ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ แ ก่ ศิ ษ ย์ ดั ง ร ะ บุ ใ น ห นั ง สื อ การประเมิ น เพื่ อ มอบอ� า นาจการเรี ย นรู้ (http://goo.gl/DLtRMd) โรงเรี ยนที่ ใ ช้ กระบวนการ PLC อย่ า งเป็ นระบบมาหลายปี คื อ โรงเรี ยนเพลิ น พั ฒ นาแผนกประถม ด� า เนิ น การทั ง้ โรงเรี ยน ใน ชื่ อ Lesson Study อ่ า นเรื่ อ งราวที่ ค รู ใ หม่ (วิ ม ลศรี ศุ ษิ ล วรณ์ ) เขี ย น เผยแพร่ ไ ด้ ที่ (https://goo.gl/0DRQ5G)

๑๓๖

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ที่ จ ริ ง โรงเรี ย นรุ่ ง อรุ ณ ก็ ใ ช้ PLC อย่ า งเป็ นระบบ มาหลายปี เช่ น เดี ย วกั น แต่ ไ ม่ ไ ด้ มี ก ารบั น ทึ ก ไว้ อย่ า งเป็ นระบบ ผมได้ เสนอ ต่ อ รศ.ดร.ประภาภั ท ร นิ ย ม ว่ า ประสบการณ์ ข อง โรงเรี ย นรุ่ ง อรุ ณ มี คุ ณ ค่ า มาก น่ า จะรวบรวมเขี ย น เป็ นหนั ง สื อ ออกเผยแพร่ จะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ วงการศึ ก ษาไทยมาก ท่ า นรั บ ไปท� า ใน บล็ อ ก Gotoknow มี ค นเขี ย นบั น ทึ ก และใส่ ค� า หลั ก PLC ไว้ มากมาย ดู ไ ด้ ที่ https://goo.gl/D0qLhP ซึ่ ง จะเห็ น ว่ า เรื่ อ งราวใน บั น ทึ ก ส่ ว นใหญ่ ไม่ ต รงกั บ นิ ย าม PLC ตามในหนั ง สื อ บั น เทิ ง ชี วิ ต ครู สู่ ชุ ม ชนเรี ยนรู้ เล่ ม นี ้ ซึ่ ง เป็ นต้ นเหตุ ของการตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ห นั ง สื อ เล่ ม นี ้

๑๓๗

บันเทิงชีวิตครู...สู่ชุมชนการเรียนรู้

๑๓๘