ช่วยคนที่คุณรัก เลิกบุหรี่

...
60 downloads 105 Views 3MB Size
ช่วยคนที่คุณรัก

เลิกบุหรี่

การเลิกบุหรี่ เป็นเรื่องที่ต้องใช้ความเพียร

มุ่งมั่น อดทน ให้เวลา และความตั้งใจ เพียงความพยายามของผู้สูบบุหรี่คนเดียว อาจไม่เพียงพอ แรงหนุนจากคนรัก ครอบครัว และเพื่อนก็เป็นสิ่งสำคัญ ที่ช่วยประคับประคองให้การเลิกบุหรี่สำเร็จ

มาเรียนรู้ต้นสายปลายเหตุของการติดบุหรี่ และสิ่งที่จะช่วยให้คนที่คุณรัก เลิกบุหรี่สำเร็จ

ช่วยคนที่คุณรัก

?

เลิกบุหรี่

ทำไมติดบุหรี่จึงเลิกยาก? เพราะการติดบุหรี่คือการเสพติดสารนิโคตินที่มีฤทธิ์ เสพติดเทียบไดกับเฮโรอีน ซึ่งเขาถึงสมองไดอยางรวดเร็ว เพียง 7 วินาทีเทานั้น เมื่อรับนิโคตินเขาไปแลวจะสงผล ตอระบบประสาท ทำใหผูสูบบุหรี่เกิดความรูสึกผอนคลาย สุขสบาย จึงเปนสาเหตุที่ทำใหผูสูบบุหรี่เสพติดและอยาก สูบบุหรี่อีก และเมือ่ สูบบุหรีต่ ดิ ตอกันนานวันเขาจะไมเกิดความรูส กึ สุขสบายอีก เพราะรางกายจะดื้อตอนิโคติน ดังนั้นจึงเปน เหตุใหตองสูบบุหรี่มากขึ้นๆ เพื่อใหรางกายไดรับนิโคตินที่ เพียงพอและเพือ่ ระงับอาการถอนนิโคติน (ความอยากบุหรี)่

รู้จักกับ...อาการถอนนิโคติน สำหรับผูที่พยายามเลิกบุหรี่ มักมีอาการเหลานี้รวม ไดแก ความรูสึก อยากบุหรี่รุนแรง หงุดหงิดงาย โกรธงาย เครียด นอนไมหลับ ปวดหรือ มึนศีรษะ หิวบอย ทองผูก เปนตน อาการเหลานี้มักรุนแรงในชวง 3-5 วัน หลังการหยุดสูบ แตจะเกิดขึ้นในชวงระยะเวลาสั้นๆ เทานั้น เมื่อเวลาผานไปอาการก็จะดีขึ้นจนหายเอง

ปัจจัยที่ทำให้คนติดบุหรี่ 1

2

3

นิสัยหรือความเคยชิน ตอพฤติกรรมการสูบบุหรี่

ความคิดและอารมณ เชน เบื่อ เซ็ง เครียด

รางกาย (การติดนิโคติน)

แรงจูงใจเป็นสิ่งสำคัญแรก การสรางแรงจูงใจเพื่อเลิกบุหรี่เปนสิ่งจำเปนแรก ซึ่งผูติดบุหรี่แตละวัยและเพศ ก็มีปจจัยสรางแรงจูงใจที่แตกตางกัน

วัยรุ่น

สวนใหญตดิ บุหรีเ่ พราะเพือ่ นชวน คิดวาเทและเหงา วัยนีจ้ ะยัง ไมเห็นความสำคัญของภัยบุหรี่ แตจะกลัวเรื่องแรงกดดัน ทางสังคม ควรสรางแรงจูงใจโดยเนนเรื่องภาพลักษณและ อนาคต

ผู้ใหญ่

• วัย 31-35 ป เปนชวงทีเ่ ลิกยากทีส่ ดุ เพราะมักติดบุหรีม่ ากขึน้ และมักอางเรือ่ งความเครียดจากหนาทีก่ ารงานและภาวะการเงิน • วัย 41 ขึ้นไป เปนชวงที่การงานและการเงินเริ่มเขาที่ แต สุขภาพเริม่ เสือ่ มลงจึงมักกังวลเรือ่ งโรคภัยไขเจ็บ ซึง่ สวนใหญ จะเลิกสูบบุหรี่ไดในชวงอายุนี้

เพศ

เพศหญิงจะมีความวิตกกังวลมากกวาเพศชาย สรางแรงจูงใจ ในการเลิกบุหรี่โดยเนนที่ภาพลักษณความสวยความงาม สุขภาพ และสังคม

ช่วยคนที่คุณรัก

เลิกบุหรี่

เทคนิคโน้มน้าวผู้ที่ยัง ไม่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ สำหรับผูที่ยังไมคิดเลิกสูบบุหรี่ อาจลองใชขั้นตอน “5 R’s” นี้เพื่อเสริมสรางแรงจูงใจในการเลิกสูบบุหรี่

1

Relevance หาความข้องเกี่ยวกัน

พยายามใหผูสูบบุหรี่มองเห็นเหตุผลที่จะเลิกบุหรี่ ซึ่งเฉพาะเจาะจงกับบริบทของผูสูบบุหรี่อยางชัดเจน โดยเฉพาะหากคนผูนั้นมีโรคภัยหรือ มีประสบการณการเจ็บปวยที่สัมพันธกับ การสูบบุหรี่ ก็ลองใชจุดนั้นเปนจุดเริ่มตน

2

Risks ซักถามความเสี่ยง

ลองพูดคุยถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ โดยพยายามใหแยกแยะผลเสียที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ออกมาดวยตัวเอง พรอมทั้งบอกกลาวใหรูวา การเลือกสูบบุหรี่ที่มีน้ำมันดินต่ำ นิโคตินบางเบา หรือสูบบุหรี่รสชาติตางๆ ไมไดชวยบรรเทาผลเสีย จากการสูบบุหรี่ใหลดนอยลงเลย

ตัวอยางความเสี่ยงที่คนสูบบุหรี่ตองเผชิญ

• ความเสี่ยงในระยะเฉียบพลัน อาทิ หายใจไมเต็มอิ่ม อาการหอบหืดกำเริบ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศกอนวัยอันควร เปนตน • ความเสีย่ งในระยะยาว ไดแก โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอด โรคมะเร็ง ในอวัยวะเหลานี้ เชน หลอดลม, กลองเสียง, ตับออน, กระเพาะปสสาวะและ ปากมดลูก โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หรือถุงลมโปงพอง เปนตน • ความเสีย่ งตอคนรอบตัวทีไ่ ดรบั ควันบุหรีม่ อื สอง ไดแก การเพิม่ ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิด โรคมะเร็งปอดและโรคหัวใจในคูครอง ความเสี่ยงที่ลูกหรือเด็กๆ ในบาน จะสูบบุหรี่ตาม หรือความเสี่ยงที่จะคลอดทารกน้ำหนักตัวนอยกวาปกติสูงขึ้น รวมถึงการเกิดโรคตางๆ ในเด็ก เชน โรคหอบหืด การติดเชื้อในทางเดินหายใจ เปนตน

3

Rewards รางวัล

รางวัลก็คอื ประโยชนทจ่ี ะเกิดขึน้ จากการเลิกบุหรี่ เชน สิง่ ทีจ่ ะไดเปนรางวัลก็คอื สุขภาพดีขน้ึ การรับรสและ กลิน่ ทีด่ ขี น้ึ ประหยัดเงินคาใชจา ย บรรยากาศในบาน รถยนต ลมหายใจดีขึ้น รวมถึงเปนแบบอยางที่ดี สำหรับเด็กๆ ในบาน เปนตน

ช่วยคนที่คุณรัก

เลิกบุหรี่ 4

Roadblocks อุปสรรคขัดขวางการเลิกบุหรี่

ควรพูดคุยซักถามผูสูบบุหรี่วา สิ่งใดที่ทำใหเลิกบุหรี่ไมได ซึ่งอุปสรรคที่พบอาจเชน อาการถอนนิโคติน กลัวความ ลมเหลว น้ำหนักตัวขึ้น ขาดแรงสนับสนุน ซึมเศรา ติดใจความสุขจากการสูบบุหรี่ เปนตน

5

Repetition หมั่นเสริมสร้างแรงจูงใจซ้ำๆ

หมั่นใหกำลังใจและสรางแรงจูงใจใหผูสูบบุหรี่เรื่อยๆ เพราะมีคนเคยลมเหลวจากการเลิกบุหรี่มาแลวทั้งนั้น กวาจะเลิกบุหรีไ่ ดสำเร็จ และเมือ่ คนผูน น้ั มีความตัง้ ใจที่ จะเลิกบุหรี่แลว ก็มีปจจัยที่ตองคอยชวยระวังและ ดูแล เพื่อใหการเลิกบุหรี่เปนผลสำเร็จ ดังนี้

ปัจจัยที่ต้องคำนึงในผู้ที่กำลังเลิกบุหรี่ ความจริงแลววิธีการเลิกบุหรี่นั้นไมมีสูตรตายตัว ขึ้นอยูกับความตั้งใจของคนผูนั้น และสภาพแวดลอม แตการชวยใหผูสูบบุหรี่เลิกบุหรี่ไดสำเร็จนั้น การฝกทักษะ การแกไขปญหามีความจำเปน อาทิเชน

1

ตองเลือกกำหนดวันเลิกบุหรี่ใหแนชัด โดยใหผูสูบบุหรี่ตั้งใจกำหนดเอง แตไมควรเกิน 2 สัปดาหหลังจากไดพูดคุยกันแลววาจะเลิกบุหรี่ อีกทัง้ การเลิกบุหรีแ่ บบหักดิบเปนสิง่ จำเปน ไมควรสูบอีกแมแตเพียงนิดเดียว หลังจากถึงกำหนดวันที่ตกลงเลิกบุหรี่แลว

2

สำหรับผูที่เคยเลิกสูบบุหรี่มากอนแตไมสำเร็จ ใหลองคิดทบทวนถึง ประสบการณแลวนำมาใชในการเลิกบุหรี่ครั้งนี้เพื่อใหประสบความสำเร็จ

ช่วยคนที่คุณรัก

เลิกบุหรี่ 3

เตรียมพรอมรับอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นในระหวางการเลิกบุหรี่ครั้งนี้ โดยเฉพาะใน 2-3 สัปดาหแรกๆ เพราะจะเปนระยะที่มีอาการถอนนิโคติน รุนแรงมากที่สุด ควรพูดคุยเตรียมการหาทางออกเพื่อนำไปสูความสำเร็จ ในการเลิกบุหรี่

4

หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุนใหอยากสูบบุหรี่ เชน งดหรือจำกัดการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอลทุกชนิด เพราะจะทำใหมีโอกาสหวนกลับไปสูบบุหรี่สูงขึ้น เปนตน

5

จัดการกับสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการเลิกบุหรี่ เพราะการเลิกบุหรี่จะมีความ ยุงยากอยางยิ่งเมื่อตองอยูใกลกับคนที่ยังสูบบุหรี่อยู โดยเฉพาะที่บานและ ที่ทำงาน ทางที่ดีจึงควรชักชวนผูที่อยูบานเดียวกันหรือทำงานที่เดียวกัน เลิกบุหรี่พรอมกัน หรืออยางนอยก็ไมสูบบุหรี่ใหผูที่กำลังเลิกบุหรี่เห็นหรือ ไดกลิ่น รวมถึงควรกำจัดบุหรี่และอุปกรณการสูบบุหรี่ออกไปใหพนสายตา กอนการเริ่มตนเลิกบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการเขาไปอยูในสถานที่ที่เคยสูบ เปนตน

6

ใหกำลังใจและการสนับสนุนคนรัก ครอบครัว และเพื่อน ควรเปนกำลังใจ และคอยชื่นชมเมื่อคนๆ นั้นเลิกบุหรี่ไดตอเนื่องหรือปฏิเสธไมสูบบุหรี่ ในแตละคราวหรือแตละวันไดสำเร็จ

ลองใช้ตารางด้านล่างนี้ ประเมินผู้สูบบุหรี่ใกล้ตัวว่า มีแนวโน้มในการเลิกบุหรี่ในระดับใด ลักษณะของ ผู้สูบบุหรี่

แนวทาง การช่วยเหลือ

ไมสนใจ

ไมคิดเลิกสูบบุหรี่ ในชวงเวลา 6 เดือน ขางหนาเลย

รับฟง สะทอนความคิด และใหคนๆ นั้นทบทวนตนเอง เกี่ยวกับโทษของการสูบบุหรี่ และใหขอมูลความเชื่อที่ถูกตอง เกี่ยวกับบุหรี่เพิ่มเติม

ลังเลใจ

เริ่มคิดที่จะเลิกสูบบุหรี่ ในชวงเวลา 6 เดือนขางหนา แตยังมีความลังเล หรืออุปสรรคบางอยาง

สรางแรงจูงใจ ชวยแกไขอุปสรรค หรือความเชื่อตางๆ เนนยาและขอมูลที่เกี่ยวกับ ประโยชนของการเลิกบุหรี่

เตรียมตัว

ผูสูบบุหรี่พรอมเลิก สูบบุหรี่ภายใน บอกวิธีเลิกบุหรี่และวางแผน 1 เดือนขางหนา การเลิกบุหรี่ เชน กำหนดวันเลิก รวมถึงเคยพยายามเลิก ชี้แนะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สูบบุหรี่อยางจริงจัง ในการเลิกบุหรี่ รวมถึง มาแลวอยางนอย 1 ครั้ง การย้ำแรงจูงใจ ภายใน 6 เดือนที่ผานมา

ระดับขั้น

ช่วยคนที่คุณรัก

เลิกบุหรี่ ระดับขั้น

ลงมือปฏิบัติ

คงไวซึ่ง พฤติกรรมใหม

ลักษณะของ ผู้สูบบุหรี่

แนวทาง การช่วยเหลือ

ผูสูบบุหรี่ที่สามารถ เลิกสูบบุหรี่ไดแลว ภายในระยะเวลา 6 เดือน ที่ผานมา

เปนชวงตองประคับประคอง และใหกำลังใจ แสดงความ ชื่นชมในความสำเร็จ

ผูสูบบุหรี่ที่สามารถ เลิกสูบบุหรี่ไดแลว นานมากกวา 6 เดือน

ควรกลาวชมเชย แตก็ไมควรประมาท เชน ลองสูบบุหรี่สักนิด เพราะคิดวาเคยเลิกได จะทำใหการเลิกบุหรี่ ครั้งตอไปยากขึ้น

ศูนยบริการเลิกบุหรี่ Quitline 1600

ลองแนะนำใหผูที่ติดบุหรี่รับคำปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญดาน การเลิกบุหรี่ เชน ศูนยบริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพทแหงชาติ โทร. 1600 หรือ www.thailandquitline.or.th

ช่วยคนที่คุณรัก

เลิกบุหรี่ จัดพิมพและเผยแพรโดย

SOOK PUBLISHING

เรียบเรียงขอมูลบางสวนจาก • หนังสือคูม อื การสอนการสรางเสริมสุขภาพ ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต โดย รศ.ดร.ศิรพิ ร ขันภลิขติ และ ผศ.ดร.จุฬาลักษณ บารมี บรรณาธิการ • เอกสารหลักการสรางแรงจูงใจและใหคำแนะนำ เพือ่ เลิกบุหรี่ โดย กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธริ ณรงคเพือ่ การไมสบู บุหรี่ • บทความความรูเ ขาใจภาวะขาดนิโคติน จาก เว็บไซตศนู ยบริการเลิกบุหรีท่ างโทรศัพทแหงชาติ http://www.thailandquitline.or.th สามารถสืบคนขอมูลและหนังสือเพิม่ เติมไดทห่ี อ งสรางปญญา ศูนยเรียนรูส ขุ ภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) หรือดาวนโหลดไดทแ่ี อปพลิเคชัน SOOK Library และ resource.thaihealth.or.th โทร. 02-343-1500 กด 3