ในโลกอันไร้เหตุผล เรี ยบเรี ยงและภาพประกอบในเล่ม : มิรายญิ ภาพปก : Pascal (The Sisyphus Punishment. Day 171) จัดพิมพ์ในรู ปแบบหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์โดย MiRAYEBOOK (facebook.com/mirayebook) พิมพ์ครัNงแรก พฤษภาคม ๒๕๕๖ พิมพ์ครัNงทีT ๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ (ปรับปรุ งหน้าปก) สงวนสิ ทธิ ตามพระราชบัญญัติลิขสิ ทธิ โดยละเว้นซึT งบางประการ ตามสั ญ ญาอนุ ญ าต ครี เ อที ฟ คอมมอนส์ ทีT CC BY-NC-ND 3.0 สามารถอ่านออนไลน์ หรื อดาวน์โหลดเพืTออ่านได้เป็ นการส่ วนตัว การเผยแพร่ ต่อทางอินเตอร์ เน็ตสามารถกระทําได้โดยแสดงทีTมา ห้า มคัด ลอกหรื อ ดัด แปลงส่ ว นหนึT ง ส่ ว นใดอัน เป็ นการละเมิ ด โดยเฉพาะอย่ า งยิT ง การตี พิ ม พ์เ พืT อ จัด จํา หน่ า ยในเชิ ง พาณิ ช ย์ จะต้องได้รับอนุ ญาตจากผูเ้ ขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนเท่านัNน ทัNง นีN ผู ้เ ขี ย นได้ใ ห้ สิ ท ธิ ในการเผยแพร่ แ ก่ บ ริ ษ ัท โพลาร์ เว็บ แอปพลิ เ คชัTน ตามเงืT อ นไขในโครงการประกวดวรรณกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ครัNงทีT ๒
กรอบแนวคิด โครงการประกวดวรรณกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ครัNงทีT 2 ประจําปี พ.ศ. 2556 ภายใต้แนวคิด ‘เปลีTยน’ บริ ษทั หนังสื ออีเล็กทรอนิกส์ จํากัด ผูใ้ ห้บริ การ ebooks.in.th ซึT ง เป็ นแพลตฟอร์ มทีTรวบรวมหนังสื ออีเล็กทรอนิ กส์หรื อทีTเรี ยกกัน ว่า "ebooks" ของไทย เป็ นลักษณะของคลังหนังสื ออีเล็กทรอนิกส์ เพืT อ ให้ ผู ้อ่ า นสามารถเข้า ถึ ง และเปิ ดอ่ า นหนัง สื อ ได้ง่ า ยผ่ า น อุปกรณ์ต่างๆ เช่น iPhone iPod iPad อุปกรณ์ทีTเป็ นระบบ Android คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล และโน๊ ตบุ๊ค โดยหนังสื อบนระบบจะมี ทัNงทีT หนังสื อทีT แจกฟรี และหนังสื อทีTมาจากนักเขียนอิ สระ หรื อ สํานักพิมพ์ต่างๆ การจัดประกวดหนังสื ออีเล็กทรอนิ กส์ในครัNงนีN จัดให้มีขN ึนเพืTอส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาและประชาชนทัวT ไปทีTมีความรู ้ ความสามารถในการจัดทําหนังสื ออีเล็กทรอนิ กส์ ได้มีเวทีแสดง และเผยแพร่ ผลงานของตนเองต่อสาธารณชน อีกทัNงเป็ นการร่ วม รณรงค์ใ ห้ เ กิ ด การพัฒ นาและเพิT ม ปริ ม าณการใช้ง านหนัง สื อ อี เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ใ ห้ ม า ก ขึN น อั น เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย ป ร ะ ห ยั ด ทรัพยากรธรรมชาติให้กบั ประเทศได้อย่างมาก ebooks.in.th 4 มกราคม 2556
ประกาศ โครงการประกวดวรรณกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ครัNงทีT 2 ประจําปี พ.ศ. 2556 คณะกรรมการโครงการประกวดวรรณกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ประกาศอย่างเป็ นทางการ ณ The Connecion Seminar Center Ladprao ห้อง Auditorium ให้เรืT อง ‘ในโลกอันไร้เหตุผล’ ได้รับ รางวัลรองชนะเลิศ ระดับประชาชนทัวT ไป ELECTRONIC BOOKS CO., LTD
14 ธันวาคม 2556
อารัมภบทผูเ้ ขียน เมืTอพูดถึงปรัชญา หลายคนมักคิดว่าปรัชญาเป็ นเรืT องน่ าเบืTอ หรื อ หากไม่แล้วก็ตอ้ งเป็ นเรืT องไกลตัวเข้าใจยาก ซึT งถึงแม้จะจริ ง แต่ ทว่าก็คงไม่จริ งทัNงหมด เพราะยังมีแนวคิดทางปรัชญาอีกไม่นอ้ ยทีT มีส่วนเข้ามาเกีTยวข้องสัมพันธ์กบั เรืT องราวใกล้ตวั อย่างเช่นเรืT องราว ในชี วิตประจําวันของมนุ ษย์เรา โดยเฉพาะปรั ชญาของ อัลแบร์ กามูส์ (Albert Camus) ทีTเน้นให้เห็นถึงความธรรมดาสามัญของ มนุษย์ ผูต้ อ้ งพยายามต่อสู ้ดิNนรนใช้ชีวิตในโลกทีTเต็มไปด้วยความ ไร้เหตุผล ต่อสู ้ดิNนรนเพืTอให้ชีวิตทีTดูไร้ค่าได้กลับมามีความหมาย มีคุณค่า และมีความสุ ขในทีTสุด ข้า พเจ้า เห็ นว่าแนวปรั ชญาของกามูส์ นัNนสอดคล้องกับ หัวข้อการประกวดวรรณกรรมอิ เล็กทรอนิ กส์ ครัNงทีT ๒ นีN กอปร ด้วยข้าพเจ้ามีความตัNงใจทีTจะแสดงให้เห็นว่า ปรัชญาไม่ใช่ เรืT องทีT เข้าถึงได้ยาก จึงได้เรี ยบเรี ยงสาระสําคัญในปรัชญาของ กามูส์ มา นําเสนอใหม่ ในรู ปแบบ ความเรี ยง พร้ อมภาพประกอบวาดมื อ อย่างง่าย ๆ เท่าทีTขา้ พเจ้าพอจะวาดเองได้ มิรายญิ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖
มิรายญิ
ในโลกอันไร้เหตุผล
ในโลกอันไร้เหตุผล | 1 |
มิรายญิ
อิทธิพลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทีTเจริ ญรุ ดหน้า แม้ผลักดัน ให้สังคมก้าวไกล แต่ในทางกลับกันก็ดูจะทําให้สังคมปั จจุบนั มี รู ปแบบทีTซบั ซ้อนมากขึNนด้วยเช่นกัน
ผูค้ นจํานวนมากทีTใช้ชีวติ ไปตามกระแสสังคมจนถึงจุดหนึTง จึงมัก เกิ ดความรู ้ สึกเหนืT อยหน่ าย เหมื อนว่าตนนัNนกําลังสู ญเสี ยความ เป็ นตัวของตัวเอง และกําลังใช้ชีวติ อย่างไร้เหตุผล
ในโลกอันไร้เหตุผล | 2 |
มิรายญิ
ความไร้เหตุผลของโลกนัNนหมายถึง ในความเป็ นจริ งแล้วโลกไม่มี แบบแผน ไม่ มี ร ะเบี ย บ และไม่ มี เ ป้ าหมายอะไรในตัว ของมัน เพราะโลกก็คือโลกอย่างทีTมนั เป็ นอยู่ เป็ นโลกทีT ดาํ รงอยู่ด้วยตัว ของมันเอง เราเพียงถูกโยนเข้ามาในโลกและใช้ชีวติ ซํNาซาก อย่างทีT บ่อยครัNงเราเองก็คิดหาเหตุผลมาตอบไม่ได้วา่ ทําไม
ในโลกอันไร้เหตุผล | 3 |
มิรายญิ
ในแง่ นN ี ความซํNาซากจึ งเป็ นความไร้ สาระของชี วิตทีT ห าเหตุ ผ ล ไม่ได้ แต่ในทางกลับกันหากคนเราไม่ถามหาเหตุผลให้ตวั เองว่า ทําไมต้องตืTนเช้ามาทํางานเดิ ม ๆ ทุกวันจันทร์ ถึงศุกร์ นัTงรถสาย เดิม ๆ ทุกวันไปทํางาน กินข้าวร้านเดิม ๆ ทุกวัน ทํางานหาเงินทุก วันเหมื อนเครืT องจักร หากไม่เช่ นนัNนแล้ว เมืT อวันทีT ความตายได้ มาถึ ง ทุ ก สิT ง ทุ ก อย่ า งทีT ดิN น รนอย่ า งซํNา ๆ มาตลอดชี วิ ต ก็ จ ะ กลายเป็ นสิT งไร้ความหมายไปในทันที
ในโลกอันไร้เหตุผล | 4 |
มิรายญิ
นับแต่ศตวรรษทีTสิบเก้าเป็ นต้นมา นักปรัชญาสมัยใหม่จึงมุ่งเสนอ แนวคิดให้ผคู ้ นในสังคมได้หวนกลับมาขบคิดถึงตนเองมากขึNน
โดยเฉพาะ ‘ปรัชญาแห่ งความไร้เหตุผล’ ของ อัลแบร์ กามูส์ ทีTมุ่ง ให้ แ ต่ ล ะคนได้ ต ระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ในการใช้ ชี วิ ต และสร้ า ง ความหมายให้แก่ตวั ตนของตนเอง
ในโลกอันไร้เหตุผล | 5 |
มิรายญิ
ปรัชญาแห่งความไร้เหตุผลของ กามูส์ ได้แสดงให้เห็นว่าชีวิตของ คนเราตกอยู่ในสภานการณ์ทีTจาํ เจและดูเหมือนจะไร้ทางเลือกอยู่ ทุกเมืTอเชืTอวัน เช่นเดียวกับชะตากรรมของ ซิ เซอฟั ส ชายผูถ้ ูกเทพ สาปให้ตอ้ งเข็นก้อนหินขนาดยักษ์ขN ึนภูเขาตลอดชีวติ
ในโลกอันไร้เหตุผล | 6 |
มิรายญิ
เราอาจไม่จาํ เป็ นต้องรู ้กไ็ ด้วา่ ซิเซอฟั สเป็ นใคร และไปทําอะไรมา จึงได้โดนคําสาปเช่นนัNน เพราะนันT ไม่ใช่ประเด็นสําคัญ แต่ขอให้ ทราบว่า ทุกครัNงทีTซิเซอฟั สเข็นก้อนหิ นขึNนไปถึงบนยอดเขาทีTเป็ น จุดหมาย ก้อนหิ นก็จะกลิT งกลับลงไปยังตีนเขาใหม่ ให้ซิเซอฟั ส ต้องเข็นขึNนมาอีกเสมอ
ในโลกอันไร้เหตุผล | 7 |
มิรายญิ
ซิ เซอฟั สต้องประสบชะตากรรมเช่นนีN วนเวียนซํNาแล้วซํNาเล่าอย่าง ไม่รู้จบ ตามคําสาปของเทพทีTได้ลงทัณฑ์ไว้
กามูส์หยิบยกปกรณัมของซิ เซอฟั สมาใช้อุปมาให้เห็นถึงความไร้ เหตุผลของโลก รวมถึงความไร้สาระของชีวติ
ในโลกอันไร้เหตุผล | 8 |
มิรายญิ
ในทีTนN ี งานซํNา ๆ ซาก ๆ ของคนเราก็เปรี ยบได้กบั การเข็นก้อนหิ น ของซิ เซอฟั ส ทีTในทุกครัNงเมืTอเข็นจนถึ งยอดเขาแล้วก็ตอ้ งมองดู ก้อนหิ นนัNนกลิNงกลับลงไปใหม่ เสมือนเราทํางานสําเร็ จลุล่วงไป อย่างหนึTง หลังจากนัNนก็จะมีงานต่อไปมาให้ทาํ อยูร่ T าํ ไป
ชี วิต ประจํา วัน ของเราจึ ง ไม่ ต่ า งไปจากซิ เ ซอฟั ส ทีT ไ ร้ ท างเลื อ ก เพราะต้อ งคําสาป เราจึ งควรตระหนักและถามตัว เองว่า จะทํา อย่างไรให้มีความสุ ขกับการเข็นก้อนหินขึNนไปบนยอดเขา
ในโลกอันไร้เหตุผล | 9 |
มิรายญิ
นันT คือเราต้องเปลีTยนวิธีคิดกับสิT งทีTพบเจออย่างซํNาซาก เช่น แทนทีT จะคิดว่าตัวเองต้องทนทุกข์ทรมานกับคําสาป ก็เปลีTยนมาคิดใหม่ ว่า ต้องทําอย่างไรให้เข็นก้อนหิ นขึNนภูเขาได้สําเร็ จโดยไม่ให้มนั กลิNงลงมาทับตัวเอง
ในโลกอันไร้เหตุผล | 10 |
มิรายญิ
เมืTอคิดดังนีNกเ็ ท่ากับว่า เรากําลังเปลีTยนมุมมองใหม่ โดยทําให้การ เข็นก้อนหิ นเป็ นสิT งทีTเรากําหนดเอง และเราค่อย ๆ เข็นมันขึNนไป อย่างระมัดระวังตามเป้ าหมายทีTเรากําหนดเอง
หากเรากําหนดวิธีการเข็นมันขึNนด้วยตัวเองแล้ว ย่อมถือว่าหิ นก้อน นัNนเป็ นของเรา และความทุกข์ความสุ ขทีTเกิดจากการเข็นก้อนหิ น ขึNนเขาก็ตอ้ งเป็ นของเราเองด้วยเช่นกัน
ในโลกอันไร้เหตุผล | 11 |
มิรายญิ
ในแง่ของซิ เซอฟั ส การเปลีTยนวิธีคิดเช่ นนีN แม้ยงั ตกอยู่ภายใต้คาํ สาป แต่ซิเซอฟัสก็ยงั สามารถเป็ นผูก้ าํ หนดการเข็นก้อนหิ นได้ดว้ ย ตัวเอง นันT คือซิเซอฟัสเลือกทีTจะยอมรับความไร้เหตุผลของคําสาป เหมือนทีTเรายอมรับว่าโลกนีN มีแต่ความไร้เหตุผล และดําเนิ นชี วิต ไปพร้อมกับมัน โดยทีTเราได้พยายามสร้างคุณค่าให้กบั สิT งทีTได้ลง มือกระทําด้วยตัวของเราเอง
ในโลกอันไร้เหตุผล | 12 |
มิรายญิ
ก้อนหิ นของซิ เซอฟั สไม่ต่างไปจากงานในชี วิตประจําวันของเรา เพราะตัวก้อนหินนัNน โดยตัวของมันแล้วไม่มีคุณค่าใด ๆ แต่คุณค่า ของก้อนหิ นจะเกิดขึNนได้ ก็ต่อเมืTอซิ เซอฟั สได้ลงมือกระทําในสิT ง ทีTมีความหมาย
งานของเราก็เช่นกัน คุณค่าของงานก็อยูท่ ีTเราซึT งเป็ นผูล้ งมือทํางาน โดยไม่สําคัญว่างานนัNนจะคืออะไร แต่สําคัญทีTว่าเราทําเพืTออะไร และทํามันอย่างไรให้มีความหมายต่อชีวติ ต่อตัวตนของเรา
ในโลกอันไร้เหตุผล | 13 |
มิรายญิ
ทว่าคนส่ วนใหญ่ไม่ได้มองการทํางานในแง่ทีTมีความหมายต่อชีวิต และตัวตน เพราะคนส่ วนใหญ่ไปให้ความสําคัญกับเงิน โดยมักคิด ว่างานทีTมีคุณค่าก็คืองานทีTตอ้ งได้เงินค่าตอบแทนสู ง
จึงเกิดการผลักไสคนทีTมีรายได้นอ้ ยหรื อไม่มีรายได้ไปสู่ ชายขอบ และทําให้คนเหล่านัNนคิดว่าชีวิตของเขาเองช่างไร้ความหมายและ ไร้คุณค่า ดังนัNนการเชืTอมโยงงานกับเงินเข้าด้วยกันเช่นนีN มีส่วนให้ ผูค้ นในสังคมไม่มากก็นอ้ ย ต้องเผชิญกับความรู ้สึกสู ญเสี ยตัวตน
ในโลกอันไร้เหตุผล | 14 |
มิรายญิ
ปรัชญาของกามูส์ จึงมุ่งให้ผูค้ นมองเห็นถึงความไร้เหตุผลต่าง ๆ ของโลกทุกวันนีN ทีTมีมากมาย และเสนอให้ยอมรับมัน จากนัNนมอง หาเป้ าหมายในชีวิต เพืTอทําให้ชีวิตทีTไร้สาระได้กลายมาเป็ นชีวิตทีT มีความหมายและมีคุณค่าจากการได้ตระหนักรู ้ถึงตัวตนของเรา ทีT ยังต้องใช้ชีวิตอยูใ่ นโลกอันไร้เหตุผลต่อไป ก่อนทีTวาระสุ ดท้ายจะ มาถึง
ในโลกอันไร้เหตุผล | 15 |
มิรายญิ
เอกสารอ้ างอิง Thomas, R. Flynn. (2006). Existentialism: A Very Short Introduction. New York: Oxford University Press. กีรติ บุญเจือ. (2522). ปรัชญาลัทธิอตั ถิภาวนิยม (EXISTENTIALISM). กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. พินิจ รัตนกุล. (2517). ปรัชญา. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. __________. (2555). ปรัชญาแห่ งความไร้ เหตุผล. กรุ งเทพฯ: สามัญชน. วันชาติ ชาญวิจิตร. (2554). การศึกษาวิเคราะห์ แนวคิดทางจริ ยศาสตร์ ในงาน วรรณกรรมของอัลแบร์ กามูส์. วิทยานิ พนธ์ปริ ญญาศิ ลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา บัณฑิตวิยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
*อนึKง สําหรับผูท้ ีTสนใจปรัชญาของ อัลแบร์ กามูส์ นอกจากเอกสารอ้างอิง ตามทีTผเู ้ ขียนใช้เรี ยบเรี ยงแล้ว ท่านสามารถค้นคว้าเพิTมเติมได้จากงานเขียน และวรรณกรรมเรืT องต่าง ๆ ของ กามูส์ ได้โดยตรง
ในโลกอันไร้เหตุผล | 16 |
มิรายญิ
ประวัติผ้ ูเขียน M.A. Philosophy, KKU B.A. Japanese, UTCC ผลงานด้ านปรัชญา (บทความวิจัย และบทความทัวK ไป) - ปรัชญาจิต: จาก อานักซากอรัส ถึง ฌอง-ปอล ซาร์ ตร์ และ ฌาคส์ ลากอง - เกริT นนําปรัชญาภาษา อภิปรัชญาร่ วมสมัย - ญาณวิทยาโดยสังเขป - จริ ยปรัชญา ทฤษฎีโดยสังเขป - ปั ญหาสังคมและศีลธรรม ต่ออัตลักษณ์โสเภณี - บุญทุนนิยม
ในโลกอันไร้เหตุผล | 17 |