นามานุกรมรามเกียรติ์

...
Author:
90 downloads 101 Views 4MB Size
คำนำสำนักพิมพ วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ นับเปนมหากาพยที่มีความยืดยาวพิสดารของเรื่อง มากที่สุดเรื่องหนึ่งในบรรดาวรรณกรรมไทย แมในฉบับพระราชนิพนธพระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลกก็ เขี ย นไว ใ นสมุ ด ไทยมากถึ ง จำนวน ๑๑๗ เล ม คำนวณขอความเปนคำกลอนไดราว ๕๐,๒๘๖ คำกลอน๑ และไดปรากฏเปนตอนที่ ใชในการประกอบการแสดงโขนจำนวนกวา ๑๐๒ ตอน๒ ซึ่งนอกจากจะมีจำนวน ตอนที่มากแลว จำนวนตัวละครตางๆ ที่โลดแลนอยูในเนื้อเรื่องก็มีมากตามมาโดย ปริยาย ดวยเนื้อเรื่องที่ดำเนินอยางยิ่งใหญอันเปนการขับเคี่ยวระหวางฝายพลับพลา (กองทัพพระราม) ซึ่งเปนตัวแทนของฝายธรรมะ กับฝายกรุงลงกา (กองทัพทศกัณฐ) ซึ่งเปนตัวแทนของฝายอธรรม ฉากการตอสูของตัวละครตางๆ การกรีธาทัพไพรพล หรือการชิงไหวชิงพริบในตามแตละสถานการณนั้น กอใหเกิดอรรถรสในเนื้อเรื่อง จนกลายเปนความตื่นตาตื่นใจและชวนใหติดตามอยางที่สุด หนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์ ฉบับปรับปรุงใหม ของ ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ เลมนี้ จึงถือเปนผลงานสำคัญที่ไดรังสรรคขึ้นเพื่อเปนการรวบรวม ประวัตคิ วามเปนมาของตัวละคร สถานที่ พิธีกรรม และอาวุธตางๆ ที่บรรดามีอยูใน เรื่องรามเกียรติ์ทงั้ หมดไวอยางละเอียด อันจะถือเปนหลักสำหรับผูท ตี่ อ งการศึกษา หรือ คนควาเรือ่ งราวและบทบาทของตัวละครในเรื่องไดอยางสะดวกและรวดเร็ว ดวยความ ชำนาญของผูเขียนซึ่งเปนนักวิชาการดานวรรณคดีไทย จึงปรากฏในเนื้อหาของ ตัวละครแตละตัวมีรายละเอียดที่สมบูรณครบถวน สำหรับการพิมพครั้งนี้ผูเขียนยัง เพิ่มเติมเนื้อหาของเรื่องรามเกียรติ์ไวเบื้องตน เพื่อใหมีความเหมาะสมสำหรับผูที่เริ่ม ศึ ก ษา คื อ บทความเล า เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ โ ดยสั ง เขปและบทความประกอบเรื่ อ ง ๑ธนิต อยูโพธิ์. ๒๕๔๙. โขน. กรุงเทพ : อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงพลตรี อราม อยูสุข. ๒วันทนีย มวงบุญ. ๒๕๓๙. ลักษณะประติมาณวิทยาของหุนเรื่องรามเกียรติ์ ของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ. กรุงเทพ : สถาบันนาฏดุริยางคศิลป กรมศิลปากร.

รามเกียรติ์อีกบางสวน ทานผูอานจึงสามารถมั่นใจไดอยางแนนอนวา แมจะไมมีความ รูในเรื่องรามเกียรติ์มากอนเลย ก็จะสามารถติดตามอานหนังสือเลมนี้ไปไดโดยตลอด สำหรับภาพประกอบตัวละคร ทางสำนักพิมพไดจัดทำขึ้นจากภาพจิตรกรรม ฝาผนังพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง เพื่อที่จะใหทาน ผูอานไดทราบลักษณะตัวละครที่สำคัญของเรื่องทุกตัว และใหเห็นภาพตอนสำคัญ ของเรื่องในบางตอน ซึ่งรวมเปนจำนวน ๑๓๕ ภาพ นอกจากนี้ในสวนของภาคผนวก ก็ไดเพิ่มเติมขอมูลลักษณะและองคประกอบสำคัญของตัวละครทุกตัวไวแลว จึงทำให หนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์เลมนี้ เปนฉบับปรับปรุงใหมที่มีความสมบูรณอยางยิ่ง อีกเลมหนึ่ง แมหนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์จะไดพิมพเผยแพรมาแลวกวา ๓ ครั้ง แตใน แวดวงหนังสือวรรณกรรม หนังสือเลมนี้ก็ยังเปนที่ตองการมาโดยตลอด ในโอกาสที่ สำนักพิมพสถาพรบุคสไดนำมาปรับปรุงใหม และพิมพเผยแพรในคราวนี้ จึงหวังเปน อยางยิ่งที่หนังสือเลมนี้จะใหสารัตถประโยชนเพิ่มเติมในเรื่องรามเกียรติ์แกทานผูอาน เปนอยางดี สำนักพิมพสถาพรบุคส

คำนำนักเขียน นามานุกรมรามเกียรติ์เกิดขึ้นเมื่อประมาณสิบปกอน โดยคำชี้ชวนของคุณ อนุช อาภาภิรม ใหเขียนขึ้นเพื่อเปนเนื้อหาสวนหนึ่งสำหรับจัดทำซีดีรอม ผูเขียนได รวบรวมชื่อตางๆ ที่ปรากฏในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก อันเปนฉบับที่มีเนื้อความสมบูรณที่สุดในบรรดาเรื่อง รามเกียรติ์ของไทย แตเมื่อโครงการจัดทำซีดีรอมเรื่องรามเกียรติ์ลมเลิกไป อีกหลายป ตอมาผูเขียนจึงมอบตนฉบับใหสำนักพิมพสุวิริยาสาสนจัดพิมพตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๖ เพียงปแรกก็จัดพิมพถึง ๒ ครั้ง หนังสือเลมนี้พิมพเผยแพรแลวไมนอยกวา ๓ ครั้ง นับ วาไดรับความนิยมจากผูอานอยางนาชื่นใจ อาจจะเปนเพราะวาการจัดทำหนังสือ นามานุกรมวรรณคดีไทยยังมีไมมากนัก ทั้งที่หนังสือประเภทนี้จะเปนคูมือใหผูอาน ติดตามเรื่องราวในวรรณคดีไดสะดวกยิ่งขึ้น จนมาถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ ผูเขียนเห็นวานา จะไดปรับปรุงหนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์ใหสมบูรณขึ้น เพราะวรรณคดีเรื่องราม เกียรติ์เปนมรดกทางวรรณศิลปที่สำคัญของชาติไทย มีการศึกษาวรรณคดีเรื่องนี้ทุก ระดับชั้นการศึกษา และมีการจัดแสดงละครและโขนเรื่องรามเกียรติ์อยางสม่ำเสมอ ตลอดมา ในการจัดพิมพนามานุกรมรามเกียรติ์ ฉบับปรับปรุงใหมนี้ ผูเขียนมอบตนฉบับ ใหสำนักพิมพสถาพรบุคสดำเนินการ ผูเขียนไดเพิ่มเติม เลาเรื่องรามเกียรติ์ และ ความสำคัญของรามเกียรติ์ในสังคมไทย เพื่อปูพื้นฐานใหผูอานทั่วไปรูจักวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์พอสังเขปเสียกอน นอกจากนี้ในภาคผนวก บรรณาธิการเลมยังได เรียบเรียงขอเขียนเรื่องลักษณะหัวโขน สี และองคประกอบของตัวละครในเรื่องราม เกียรติ์ เพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกผูอาน เพราะวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นิยมนำไปใช แสดงโขน โขนซึ่งเปนนาฏศิลปชั้นสูงของไทยเปนการแสดงที่มีลักษณะพิเศษ ตัวละคร ยักษและลิงซึ่งมีจำนวนมากจะสวมเสื้อผาสีตางกัน รวมทั้งสวมมงกุฎ หัวโขน และถือ อาวุธตางกันดวย หากผูอานมีความรูเรื่องเหลานี้จะทำใหรูจักตัวละครและดูการแสดง โขนไดมีอรรถรสยิ่งขึ้น บรรณาธิการเลมยังไดจัดทำภาพตัวละครในวรรณคดีเรื่อง

รามเกียรติ์มาประกอบถึง ๙๔ ตัวละคร รวมทั้งแทรกภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง รามเกียรติ์บางตอนเพื่อใหผูอานไดรับรสทางวรรณศิลปและทัศนศิลปประกอบกันไป อยางนาประทับใจ หนังสือเลมนี้จึงมีคุณคาทั้งทางความรูและมีความสวยงามนาอาน ในการเรียบเรียงเนื้อหาวรรณคดีไทยเปนฉบับรอยแกวก็ดี การจัดทำนามานุกรมวรรณคดีไทยบางเรื่องก็ดี ผูเขียนมีความมุงหวังตั้งใจที่จะชวยใหผูอานทั่วไปเขาถึง เนื้อหาเรื่องราวอันสนุกสนานของวรรณคดีไทยเปนเบื้องตน เพื่อจะไดเกิดความรูสึก สนใจอยากอานตนฉบับที่เปนงานกวีนิพนธตอไป อันจะทำใหผูอานไดเสพอรรถรส รวมทั้งดื่มด่ำในคุณคาทางวรรณศิลปของวรรณคดีเรื่องนั้นๆ ในระดับลึกซึ้งขึ้น จน เกิดความรักความภาคภูมิใจในมรดกวรรณคดีของชาติ การจัดทำหนังสือดังกลาวได รับการตอบรับสนับสนุนจากผูอานเสมอมา แตละเลมพิมพซ้ำหลายครั้ง ทำใหผูเขียน มีกำลังใจในการสรางผลงานในลักษณะเชนนี้อยางตอเนื่อง ผูเขียนสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบุรพกษัตราธิราชและบรรพกวีที่ สรางสรรควรรณคดีเปนเพชรน้ำงามแหงวรรณศิลปไทย ผูเขียนมุงหวังจะสืบทอด คุณคาของวรรณคดีมรดกเหลานี้สูคนรุนหลังเพื่อรวมกันรักษาไวใหคงอยูชั่วกาลนาน ในการเผยแพรหนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์ ฉบับปรับปรุงใหมนี้ ผูเขียนขอขอบคุณ สำนั ก พิ ม พ ส ถาพรบุ ค ส ที่ ใ ห ก ารสนั บ สนุ น ในการจั ด พิ ม พ จ ำหน า ย และขอบคุ ณ คุณสุปรีดิ์ ณ นคร บรรณาธิการเลมที่ดูแลตนฉบับใหสวยงาม นาอานพรอมทั้งเพิ่ม เติมภาคผนวกใหเนื้อหาสมบูรณขึ้น ทายที่สุดขอขอบคุณผูอานที่สนับสนุนผูเขียนดวย ดีตลอดมา หวังวาเราทุกคนคงจะเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของบูรพกวีไทยที่ ไดสรางสรรควรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์อันทรงคุณคาทั้งทางสังคม วัฒนธรรม ปรัชญา และเปนมรดกวรรณศิลปเลมสำคัญของชาติไทย ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ พฤศจิกายน ๒๕๕๓

สารบัญ ความเปนมาของเรื่องรามเกียรติ์ เลาเรื่องรามเกียรติ์ ความสำคัญของรามเกียรติ์ในสังคมไทย นามานุกรมรามเกียรติ์ - กษัตริย - ลิง - ยักษ - ฤษี เทวดา นางฟา มนุษย สัตว อมนุษย - สถานที่ - พิธี - การทำลายฤทธิ์ - อาวุธ - อื่นๆ ภาคผนวก ๑ : ลักษณะหัวโขน สี และองคประกอบตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ ภาคผนวก ๒ : คำแหงหนุมาน

๑๑ ๑๗ ๓๕ ๔๑ ๔๓ ๕๕ ๗๑ ๑๒๕ ๑๕๓ ๑๖๕ ๑๗๖ ๑๘๐ ๑๙๐ ๑๙๓ ๒๒๔

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

11

ความเปนมาของเรื่องรามเกียรติ์ บอเกิดแหงรามเกียรติ์ รามเกียรติ์เปนวรรณคดีสำคัญของชาติไทย วรรณคดีเรื่องนี้มีชื่อเสียงเปนที่ รูจ กั กันโดยทัว่ ไป และสรางความนิยมจับจิตจับใจคนไทยทุกระดับยาวนานกวา ๗๐๐ ป ชื่อของถ้ำพระรามที่ปรากฏในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และพระนามของพอขุน รามคำแหงมหาราช พระมหากษัตริยอ งคที่ ๓ แหงสุโขทัยยอมเปนประจักษพยานอัน ดี ว า คนไทยนิ ย มยกย อ งวรรณคดี เรื่ อ งนี้ ม าแต ป างบรรพ แต ร ามเกี ย รติ์ มิ ใช เ ป น วรรณคดีไทยแท หากแตมีที่มาจากมหากาพยเรื่องรามายณะ อันเปนคัมภีรสำคัญของ ศาสนาฮินดู ในประเทศอินเดียเอง เรื่องรามายณะเปนวรรณคดีที่แพรหลายเพราะมีความ สำคัญทั้งทางประวัติศาสตรและศาสนา มหากาพยเรื่องรามายณะแตงโดยฤษีวาลมีกิ เปนภาษาสันสกฤต ถือเปนอาทิกาพยคือเปนงานนิพนธชิ้นแรก แตมีเรื่องรามายณะ อีกหลายรอยหลายพันสำนวนแตงเปนภาษาตางๆ กัน เชน ภาษาฮินดี ภาษาเบงคลี ภาษาทมิฬ ฯลฯ แตงดวยรูปแบบคำประพันธตางๆ กัน เชน เปนมหากาพยปุราณะ บทละคร ฯลฯ ทั้งนี้เพราะเปนวรรณคดีที่มีความสำคัญในชีวิตและสังคมอินเดียทั้งใน ดานศาสนาและวัฒนธรรมดังที่กลาวมาแลว แมมหากาพยรามายณะของวาลมีกิ ซึ่ง ถือวาเปนอาทิกาพย ก็ยังมีถึง ๓ สำนวน คือ ฉบับอุตตรนิกาย ฉบับองคนิกาย และ ฉบับบอมเบย ความสัมพันธทางศาสนาและวัฒนธรรมอยางแนบแนนระหวางไทย กับอินเดียตั้งแตอดีตกาล ทำใหไทยรับทอดวรรณคดีจำนวนมากจากอินเดีย แตก็ไมมี ผูใดใสใจในความเปนวรรณคดีตางชาตินั้น เพราะวรรณคดีเรื่องตางๆ ที่รับทอด อิทธิพลมา รวมทั้งเรื่องรามเกียรติ์ ไดรับการปรับเปลี่ยนตัดเติมจนเหลือแตเคาโครง เดิมเพียงเหตุการณหลักๆ ในเรื่องเทานั้น การคนควาในทางวิชาการอยางจริงจังวาเรื่องรามเกียรติ์มาจากไหน อยางไร เริ่มตนในสมัยรัชกาลที่ ๖ แหงกรุงรัตนโกสินทรนี้เอง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวทรงเปนนักวิชาการพระองคแรกที่เริ่มศึกษาเรื่องที่มาของรามเกียรติ์และ ทรงพระราชนิพนธผลงานการศึกษาคนควาของพระองคทานไวในหนังสือชื่อ บอเกิด

12

นามานุกรมรามเกียรติ์

แหงรามเกียรติ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงศึกษาเปรียบเทียบรามายณะ ฉบับภาษาสันสกฤตของวาลมีกิ ฉบับอุตตรนิกาย และรามายณะฉบับภาษาฮินดีของ ตุลสิทาส ที่ชื่อวา รามจริตมานัส กับ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ซึ่งถือกันวาเปนฉบับที่มีเนื้อความสมบูรณ ที่สุด หลังจากทรงศึกษาเปรียบเทียบความคลายคลึงและความแตกตางแลว ทรงสรุป ขอสันนิษฐานวาบอเกิดของรามเกียรติ์ของไทย มาจาก ๓ แหลง คือ ๑. รามายณะฉบับสันสกฤต และนาจะใชฉบับองคนิกายเพราะขาพเจาเขาใจ วาพราหมณที่มาเมืองเราจะไดมาจากแควนองคราษฎร (เบงกอล) ทั้งมีขอความที่พอ จะเปนพยานอางในขอนี้ไดอยางหนึ่ง คือ เรื่องพระกุศกับพระลบจับมาอุปการขี่ และ พระรามออกไปจับกุมารทั้งสองนี้ มีอยูในฉบับองคนิกาย แตในฉบับอุตตรนิกาย (ซึ่ง เปนฉบับที่ขาพเจามีอยูนั้น) ไมมีเรื่องนี้ ๒. หนุมานนาฏกะ นาจะไดเปนบอเกิดแหงขอความเบ็ดเตล็ดตางๆ ซึ่งมีอยู เปนอันมากในรามเกียรติ์ของเรา แตโดยมากคงจะเปนขอความในตอนตนๆ คือตอน กำเนิดตางๆ และตอนทศกัณฐเยี่ยมพิภพ เปนตน ขอความเบ็ดเตล็ดอยางเชน ขอที่วา ครั้งหนึ่งทศกัณฐไดบังคับใหเทวดารับใชตน เปนตน ไดความวามาจากวิษณุปุราณะ ๓. หนุมานนาฏกะ นาจะไดเปนบอเกิดแหงขอความที่กลาวถึงความเกงตางๆ ของหนุมาน หนังสือหนุมานนาฏกะเปนหนังสือที่ชาวอินเดียชอบกันมาก เพราะ ฉะนั้นถึงจะจำมาไดเปนทอนใหญๆ ก็เปนได (บอเกิดแหงรามเกียรติ์ : ๒๕๐๓) การริเริ่มคนควาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวจึงเปนพื้นฐาน สำคัญของการศึกษาคนควาเรื่องรามเกียรติ์ใหแกนักวิชาการตอมาจนถึงปจจุบัน เสฐียรโกเศศ หรือ พระยาอนุมานราชธน เปนนักวิชาการที่สืบคนเรื่องบอเกิด ที่มาของรามเกียรติ์ในเวลาตอมา และพบขอสังเกตสำคัญเพิ่มเติมที่เปนแนวทางใหแก นักวิชาการในรุนหลัง การคนควาเรื่องรามเกียรติ์ปรากฏอยูในหนังสือ ๒ เลม คือ อุปกรณรามเกียรติ์ และประชุมเรื่องพระราม เสฐียรโกเศศคนควาถึงการแพรกระจายของเรื่องรามายณะในประเทศอินเดีย อันทำใหพบวานอกจากฉบับภาษาสันสกฤตของวาลมีกิแลว ยังมีรามายณะฉบับภาษา ฮินดีของตุลสิทาส ฉบับภาษากัศมีรีของแควนกัศมีระ ฉบับภาษาเบงคลีของแควน

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

13

เบงกอล ฉบับภาษาทมิฬของแควนกลิงคราษฎร เปนตน เรื่องรามายณะเหลานี้มีที่มา จากฉบับของวาลมีกิเพียงเล็กนอย ดังที่เสฐียรโกเศศมีความเห็นวา “เรื่องรามายณะเหลานี้ตรงกับรามายณะของวาลมีกิเพียงเคาโครงเรื่อง นอก นั้นก็มีที่ผิดแผกกันออกไปแลวแตความคิดเห็นในเรื่องความเชื่อถือและโวหารของกวี ซ้ำมีเรื่องรามายณะของวาลมีกิในกาลตอมาแพรหลายจากแหลงเดิมออกไปไกล เนื้อ เรื่องก็วิจิตรพิสดารมากขึ้น มีเรื่องซึ่งไมตรงกับฉบับของฤษีวาลมีกิ ดังจะเห็นไดจาก เรื่องรามายณะของชาวเบงคลีแหงแควนเบงกอล และชาวชนที่รวมเรียกวาทมิฬแหง อินเดียภาคใต เปนตน ที่ผิดแปลกออกไปนี้ คงเปนเพราะนำนิยายเรื่องพระรามของ เกาบางตอนซึ่งประชาชนรูจักกันแพรหลาย แตไมมีอยูในฉบับรามายณะของวาลมีกิ เขามาผนวกไวดวย หรือหันเหและแกเรื่องใหเขากับความเชื่อของตน อันเปนเอกเทศ เฉพาะทองถิ่นนั้นๆ ยกตัวอยางเรื่องไมยราพอันไมมีอยูในเรื่องรามายณะของวาลมีกิ แตไปมีอยูในเรื่องมหิราพณของเบงคาลี และเรื่องมยิลิราพณของทมิฬ ในอินเดียลาง แควนเรียกไมยราพวาอหิราพณก็มี แสดงวาเรื่องไมยราพเปนที่รูจักกันแพรหลายใน อินเดียมากอนแลว” เสฐียรโกเศศเปรียบเทียบรามเกียรติ์ไทยกับรามายณะฉบับแควนตางๆ ของ อินเดีย อยางเชน รามาวตารจริตของประกาศภัฏฏ รามายณะตริษัษฐีศลากาบุรุษจริต ของเหมจันทร มยิลิราพณซึ่งเปนภาษาทมิฬ เปนตน และพบวา เนื้อหาของราม เกียรติ์ไทย สวนที่ไมตรงกับฉบับของวาลมีกิ มักจะไปตรงกับฉบับภาษาทมิฬและ ภาษาเบงคลีมากกวาฉบับแควนอื่นๆ อยางเรื่องไมยราพซึ่งไมพบในฉบับของวาลมีกิ นอกจากนี้เรื่องรามายณะยังแพรกระจายเขามาในดินแดนตางๆ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ไดแก ชวา บาหลี มลายู เขมร ลาว ญวน พมา และไทย เปนตน เสฐียรโกเศศไดเปรียบเทียบรามเกียรติ์ของไทยกับนิทานเรื่องพระรามที่แพรหลายอยู ในดินแดนตางๆ เหลานั้น และพบวาเนื้อหาบางตอนในรามเกียรติ์ไทยที่ไมปรากฏใน รามายณะของวาลมีกิกลับคลายคลึงกับเรื่องราวในนิทานพระรามฉบับตางๆ เหลานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งตอนที่เกี่ยวกับความเกงกลาสามารถของหนุมานอยางเชนตอน นางลอย คลายกับพระรามชาดกของลาว หากแตในพระรามชาดก ทศกัณฐใหเสก ตนกลวยเปนนางสีดาลอยน้ำมา และการที่นางสีดาเปนธิดาของทศกัณฐกับนางมณโฑ ก็คลายกับเรื่องหิกะยัตศรีรามของมลายู เปนตน

14

นามานุกรมรามเกียรติ์

การคนควาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวและเสฐียรโกเศศ จึง เปดเผยวารามเกียรติ์ของไทยไมไดรับอิทธิพลจากรามายณะของวาลมีกิโดยตรงเพียง เลมเดียว หากแตไดรับอิทธิพลจากวรรณคดีเรื่องพระรามที่แพรหลายอยูในดินแดน ตางๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต รามเกียรติ์จึงไมไดเหมือนกับรามายณะฉบับใดฉบับ หนึ่งทั้งหมด นอกจากนี้ยังรับถายทอดอิทธิพลหลายครั้งหลายหน และการแพร กระจายวรรณคดีเรื่องนี้ในลักษณะมุขปาฐะ คือ การบอกเลา จดจำตอกันมา ทำให เรื่องราวตางๆ ประสมปนเปกัน นอกจากนี้กวีไทยยังมีความสามารถในการประสม ประสานปรุงแตง ตัด เติม เนื้อหาเรื่องราวเพื่อใหสอดคลองกับวัฒนธรรม คานิยมและ รสนิยมของคนไทยอีกดวย หลังจากการคนควาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั และเสฐียรโกเศศ แลว ยังมีนักวิชาการอื่นๆ ศึกษาคนควาเรื่องที่มาและวิเคราะหเปรียบเทียบเรื่องราม เกียรติ์ตอมาอีกหลายคน เนื่องจากมหากาพยเรื่องรามายณะเปนวรรณคดีที่ไดรบั การ ยกยองวาเปนวรรณคดีชนิ้ เอกของโลก จึงมีการศึกษาคนควาอยางแพรหลาย ดังมีการ จัดสัมมนาระดับนานาชาติเรื่องรามายณะอยางตอเนื่องเปนประจำทุก ๓ ป รามเกียรติ์สำนวนตางๆ วรรณคดี เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ เ ป น ที่ นิ ย มมากอย า งยิ่ ง ในเมื อ งไทย จึ ง มี ผู แ ต ง วรรณคดีเรื่องนี้ขึ้นหลายโอกาส หลายวาระ รามเกียรติ์ของไทยจึงมีสำนวนแตงตางๆ กัน และรูปแบบการประพันธหลากหลาย ดังนี้ ๑. บทพากยรามเกียรติ์ครั้งกรุงเกา ขอความตอนสีดาหายถึงกุมภกรรณ ลมติดตอกัน นอกนั้นมีความเปนตอนๆ ไมตอเนื่องกัน ๒. บทละครรามเกียรติค์ รัง้ กรุงเกา ตอน พระรามประชุมพลถึงองคตสือ่ สาร ๓. บทละครรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี มี ตอนกำเนิดพระมงกุฎ ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานรินจนถึงทาวมาลีวราชเสด็จ ตอน ทาวมาลีวราชวาความจนถึงทศกัณฐเขาเมือง ตอนทศกัณฐตั้งพิธีทรายกรดปลุกเสก หอกกบิลพัท จนถึงหนุมานผูกผมทศกัณฐกับนางมณโฑ ๔. บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

15

๕. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ตอนหนุมานถวายแหวนไปจนถึงทศกัณฐลมพระรามเสด็จกลับ อยุธยา และตอนบุตรลพ (พระมงกุฎพระลบ) ๖. คำพากยรามเกียรติ์ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ตอนนางลอย ตอนนาคบาศ ตอนพรหมาสตร และตอนเอราวัณ ๗. บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว ตอนพระรามเดินดง ๘. บทเบิกโรง พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ตอนนารายณปราบนนทกและพระรามเขาสวนพิราพ ๙. เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว ซึ่ ง มี หลายประเภท และหลายตอน บางสวนทรงพระราชนิพนธขึ้นตามเรื่องรามายณะของ วาลมีกิ ฉบับภาษาอังกฤษ รวมทั้งชื่อตัวละคร บุคลิกลักษณะของตัวละคร บางสวน ดำเนินเรื่องตามฉบับรัชกาลที่ ๑ อยางตอนพรหมาสตร บางสวนดำเนินตามฉบับ รัชกาลที่ ๒ อยางตอนนางลอย พระราชนิพนธเรื่องรามเกียรติ์ฉบับตางๆ ไดแก บทละครเบิกโรงเรื่องดึกดำบรรพ ๔ ชุด คือ มหาพลี ฤษีเสี่ยงลูก นรสิงหาวตาร และพระคเณศรเสียงา บทละครดึกดำบรรพ (โขน) ชุดอรชุนกับทศกัณฐ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ชุดปราบตาฑะกา และชุดอภิเษกสมรส บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์ ๖ ชุด คือ สีดาหาย พิเภกถูกขับ จองถนน ประเดิมศึกลงกา นาคบาศ พรหมาสตร ทั้ง ๖ ชุด มีคำรองและคำพากยอยูในชุด เดียวกัน ใชไดทั้งเลนโขนและละคร บทพากยบทเจรจา ตอนเผาลงกา พิธีกุมภนิยา และนางลอย ๑๐. นิราศสีดา หรือราชาพิลาปรคำฉันท แตงในสมัยอยุธยา ๑๑. สุภาษิต เชน โคลงทศรถสอนพระราม โคลงพาลีสอนนอง ๑๒. เรื่องพระลัก - พระลาม ซึ่งเปนนิทานคำกลอนของทองถิ่นภาคอีสาน ๑๓. โคลงอธิบายภาพเรื่องรามเกียรติ์ ซึ่งเปนจิตรกรรมฝาผนังรอบพระ อุ โ บสถวั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม จำนวน ๔,๙๘๔ บท โดยเป น พระราชนิ พ นธ

16

นามานุกรมรามเกียรติ์

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ๒๒๔ บท สวนที่เหลือเปนผลงานของพระ บรมวงศานุวงศ และกวีนักปราชญราชบัณฑิต นอกจากนี้ยังมีวรรณคดีที่มาจากนิทานเรื่องยอยในรามายณะของวาลมีกิ นั่น คือ พระราชนิพนธเรื่องพระศุนหเศป ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และเรื่องอิลราชคำฉันท ของพระศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

17

เลาเรื่องรามเกียรติ์ หลังจากพระนารายณปราบหิรันตยักษไดแลว พระองคบรรทมเหนือบัลลังก นาคที่ลอยอยูกลางเกษียรสมุทร บังเกิดดอกบัวขึ้นจากพระนาภี ภายในดอกบัวมีพระ กุมารประทับอยู พระนารายณทรงอุมกุมารนั้นเหาะมาถวายพระอิศวร พระอิศวร ตรัสวาพระกุมารจักเปนตนวงศกษัตริยอันประเสริฐผูสามารถดับทุกขเข็ญของโลก จึง มีเทวโองการใหทาวมัฆวานไปสรางอยุธยาบุรีนครใหครอบครอง พระราชทานนาม พระกุมารวาทาวอโนมาตัน ในขณะเดียวกันทาวสหบดีพรหมโปรดเกลาใหสรางเมือง ลงกา แลวทูลเชิญองคธาดาพรหมครองเมือง องคธาดาพรหมมีโอรสชื่อทาวลัสเตียน ฝายทาวอโนมาตันมีโอรสชื่อทาวอัชบาล ทาวลัสเตียนมีมเหสี ๕ องค มเหสีองคที่ ๕ ใหกำเนิดโอรสคือ ทศกัณฐ ซึ่งอดีตชาติคือนนทกผูสิ้นชีวิตดวยฤทธิ์ของพระนารายณ พระอิศวรทรงเล็งเห็นวาทศกัณฐจะสรางความเดือดรอนแกโลก จึงทรงบัญชาให เวสสุ ญ าณเทพบุ ต รจุ ติ ไ ปเกิ ด เป น พิ เ ภกน อ งร ว มท อ งกั บ ทศกั ณ ฐ เพื่ อ ช ว ยเหลื อ พระนารายณซึ่งจะอวตารลงไปปราบยักษ ตอมาทาวอัชบาลมีโอรสคือทาวทศรถ ซึ่ง ครองเมืองอยุธยาสืบตอมา ทาวทศรถครองราชสมบัติมาเปนเวลานาน ไมมีพระโอรส จึงทรงนิมนตพระ ดาบส ๔ องค คือ พระวสิษฐ พระสวามิตร พระวัชอัคคี และพระภารทวาช มาทำพิธี ขอพระราชโอรสผูมีฤทธิ์เพื่อจะไดปราบปรามเหลายักษชั่วรายที่กำเริบรุกรานสามโลก ให เ ดื อ ดร อ น พระดาบสทั้ ง ๔ องค ไ ปพบพระฤษี ก ไลโกฏ แล ว พากั น ไปเข า เฝ า พระอิศวร กราบทูลใหทรงทราบ พระอิศวรทูลเชิญใหพระนารายณอวตารลงไปเปน โอรสทาวทศรถเมืองอยุธยาเพือ่ ปราบยักษ พรอมกับใหพระลักษมีอวตารไปเปนนางสีดา อาวุธของพระนารายณคือสังขและบัลลังกนาคบังเกิดเปนพระลักษมณ จักรเปนพระ พรต คทาเปนพระสัตรุด และเหลาเทพเทวาขออาสาไปบังเกิดเปนพลวานรชวยปราบ ยักษรายใหสิ้นเผาพันธุ จากนั้นจึงประสาทมนตรสญชีพใหพระกไลโกฏไปตั้งกาลาพิธี ขอพระโอรส เมือ่ ทำพิธไี ดบงั เกิดกองอัคคี มีอสูรทูนถาดขาวทิพย ๔ ปน ผุดขึน้ กลาง กองไฟ กลิ่นขาวทิพยหอมลอยไปจนถึงเมืองลงกา นางมณโฑมเหสีทศกัณฐอยากเสวย ขาวทิพยนั้น ทศกัณฐจึงใหนางกากนาสูรบินมาโฉบขาวทิพยไปไดครึ่งปน ทาวทศรถ

18

นามานุกรมรามเกียรติ์

ประทานขาวทิพยแกนางเกาสุริยา นางไกยเกษี คนละ ๑ ปน สวนที่เหลือใหนาง สมุทรชาเทวี นางเกาสุริยาประสูติพระราม กายสีเขียว นางไกยเกษีประสูติพระพรต กายสีชมพู นางสมุทรชาเทวีประสูติพระลักษมณ กายสีเหลือง และพระสัตรุด กาย สีมวง สวนนางมณโฑประสูตินางสีดา แตพระธิดานอยรองวา “ผลาญราพณ” ขึ้นสาม ครั้ง โหรทำนายวาเปนกาลกิณี ทศกัณฐจงึ บัญชาใหนำพระธิดาแรกประสูตใิ สผอบลอย น้ำไปทาวชนกฤษีเก็บผอบได เปดพบทารกนอยจึงเลี้ยงไวเปนพระธิดาดวยความรัก เมื่อรำลึกไดวาพระองคละสมบัติออกบวชเปนฤษีเพราะหวังบรรลุฌาน จึงนำทารก นอยใสผอบฝงดินไว ฝากใหพระแมธรณีคุมครอง ตอมาเมื่อลาพรตกลับไปครองเมือง มิถิลา ไดขุดผอบนำพระธิดาซึ่งเติบโตเปนสาววัยสิบหกปขึ้นมา ประทานชื่อวาสีดา ฝายโอรสทาวทศรถทั้ง ๔ องค ไดเลาเรียนวิชาจากพระฤษีวสิษฐและพระฤษี สวามิตร เมื่อเรียนสำเร็จพระฤษีตั้งพิธีบูชาไฟ พระอิศวรประทานศรและลูกศร ๑๒ เลมใหพระกุมารทั้ง ๔ พระองค พระกุมารทุกพระองคจึงมีศรพรหมาสตร อัคนิวาต และพลายวาตเปนอาวุธ ตอมาพระพรตและพระสัตรุดเสด็จไปประทับที่เมืองไกยเกษ กับพระอัยกา พระรามและพระลักษมณไดปราบยักษมารเกเรที่สรางความเดือดรอน แกประชาชน พระวสิษฐพระสวามิตรกราบทูลใหพระรามพระลักษมณทรงทราบเรื่อง

ทาวชนกฤษีทำพิธีขุดหาผอบนางสีดา (ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม)

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

19

พิธีเสี่ยงทายยกมหาธนูโมลี

ทาวชนกทำพิธีหาคูใหพระธิดา โดยใหแขงขันยกมหาธนูโมลี ผูยกไดสำเร็จจะได อภิเษกกับนางสีดา พระรามยกมหาธนูได ทาวชนกเชิญทาวทศรถมารวมพิธีอภิเษก พระรามนางสีดา แลวพระรามพานางสีดาไปยังเมืองอยุธยา ระหวางทางไดปราบ รามสูร เมื่อทาวทศรถทรงพระชรา ทรงประทานเมืองอยุธยาใหพระราม นางไกยเกษี ทวงสัญญาจากทาวทศรถที่จะมอบราชบัลลังกแกพระพรต ทาวทศรถจึงตองทำตาม คำสัตยที่ใหแกนางไว นางไกยเกษีอางพระราชโองการจากทาวทศรถใหพระรามทรง พรตเปนดาบสแลวเสด็จไปอยูปาเปนเวลาสิบสี่ปจึงคอยคืนเมือง พระรามกระทำตาม เพื่อรักษาสัจวาจาของพระบิดา พระลักษมณและนางสีดาตามเสด็จไปดวย เมื่อพระ พรตทราบเรื่อง ตกพระทัยมาก ไมยอมครองเมือง ตามไปทูลเชิญใหเสด็จกลับ เมื่อ พระรามไม ย อม พระพรตจึ ง กลั บ ไปรั ก ษาพระนคร โดยเชิ ญ ฉลองพระบาทของ พระรามมาไวในปราสาทแกวแทนพระองค หลังจากนั้น พระราม พระลักษมณ และ นางสี ด า เสด็ จ เข า ป า ลึ ก ไปอี ก เพื่ อ มิ ใ ห ผู ใ ดทราบว า พระองค ป ระทั บ อยู ที่ ไ หน พระองคจะไดเจริญภาวนาไดเต็มที่ตามพระประสงค กลาวถึงนางสำมนักขา นองสาวของทศกัณฐเปนมายเพราะชิวหาผูเปนสวามี

20

นามานุกรมรามเกียรติ์

ถูกจักรของทศกัณฐสังหารดวยความเขาใจผิด เนื่องจากชิวหาแลบลิ้นปดเมืองลงกา แลวหลับไปไมไดสติ เนื่องจากอดนอนเฝาเมืองใหทศกัณฐมาเจ็ดวันเจ็ดคืน นาง สำมนักขาไปเที่ยวปา ไดพบพระรามซึ่งกำลังบำเพ็ญพรต เกิดความใครไดพระราม เปนสามี นางจึงแปลงรางเปนสาวสวยเขาเยายวนพระราม พระรามขับไลใหไป นาง ก็ตามมาจนถึงอาศรม เมื่อเห็นนางสีดาก็หึงหวง จึงคืนรางเปนยักษเขาทำรายนางสีดา พระรามพระลักษมณเขาตอสู พระลักษมณตัดแขนขาหูจมูกนางแลวปลอยตัวไป นาง สำมนักขากลับไปเมืองโรมคัล พญาขรผูพี่ชายเห็นเขาก็โกรธแคน ยกทัพมารบกับ พระรามพระลักษมณ พระรามปราบไดราบคาบ ไพรทหารหนีกลับมาทูลขุนทูษณ ผูเปนอนุชา ขุนทูษณยกทัพไปรบกับพระราม ก็ถูกสังหารสิ้นชีวิต ทหารที่รอดตายไป ทูลทาวตรีเศียรผูเปนอนุชาอีกองคหนึ่ง พญาตรีเศียรยกทัพมาตอสู ก็ถูกพระราม ประหารสิ้นชีวิตเชนกัน นางสำมนักขาตกใจแทบสิ้นชีวิต รีบเดินทางขามสมุทรไปยัง เมืองลงกา แกลงทูลทศกัณฐผูเปนพี่ชายวาจะจับนางสีดาถวายทศกัณฐ แตพระราม พระลักษมณขัดขวางไว อีกยังสังหารพญาขร ขุนทูษณ ทาวตรีเศียรถึงแกชีวิต นาง สำมนักขาพรรณนาความงามของนางสีดาจนทศกัณฐหลงใหล ใครไดนางเปนชายา จึงบัญชาใหมารีศแปลงเปนกวางทองไปลอนาง เมื่อพระรามตามกวางไป กวางมารีศ แกลงรองเปนเสียงพระรามใหพระลักษมณไปชวย นางสีดาขับไลพระลักษมณใหรีบ ตามไป ทันใดนั้นทศกัณฐก็เขาลักตัวนางสีดาจากอาศรม

หนุมานถวายตัวเปนสมุนรับใชพระราม

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

21

พระรามและพระลักษมณเดินปาติดตามหานางสีดาดวยความโศกเศรา พบนก สดายุบาดเจ็บปกหักหางหักอยูกลางปา นกสดายุกราบทูลวาขณะบินอยูบนทองฟา พบทศกัณฐลักพานางสีดานั่งรถทรงเหาะมา จึงเขาขัดขวาง ฆาไพรพลยักษจำนวน มาก แต ป ระมาทที่ บ อกแก ท ศกั ณ ฐ ว า ไม แ พ อ าวุ ธ ใดนอกจากแหวนที่ พ ระอิ น ทร ประทานแกนางสีดา ทศกัณฐจึงถอดแหวนของนางสีดาขวางมาประหารนกสดายุ หลังจากกราบทูลนกสดายุถวายแหวนแกพระรามแลวสิ้นชีวิต พระรามและพระลักษมณเดินทางตามหานางสีดาตอไป ระหวางเดินทางพบ หนุมานเปนลิงเผือกเพศผู พระรามเห็นวาหนุมานมีกุณฑลขนเพชรเขี้ยวแกวในขณะที่ พระลักษมณไมเห็น หนุมานจึงรูวาพระรามคือนารายณอวตารเพราะเปนบุคคลเดียว ที่เห็นลักษณะกายของตน หนุมานจึงเขาไปกราบพระบาท และกราบทูลถามมูลเหตุที่ เสด็จอยูในปาเพียงลำพัง ปราศจากไพรพลกองทัพ เมื่อหนุมานทราบวาพระราม จะเสด็จไปตามนางสีดาที่กรุงลงกาเมืองของทศกัณฐ จึงแนะนำใหพระรามจัดทัพ โดย ไปตามสุ ค รี พ ซึ่ ง เป น น า ชายมาเข า เฝ า สุ ค รี พ กราบทู ล ให พ ระรามช ว ยปราบพาลี เนื่องจากพระอิศวรประทานนางดาราวดีแกสุครีพเปนบำเหน็จที่ชวยฉุดเขาพระสุเมรุ ใหตรง พาลีรับนางดาราวดีมาและใหคำสัตยวาหากไมมอบนางดาราวดีแกนองชาย ขอใหตายดวยศรของพระนารายณ พาลีเสียสัตยผิดคำสาบานและยังขับไลสุครีพซึ่ง เปนนองรวมไสออกจากเมืองโดยไมมีความผิด พระรามจึงใหสุครีพไปทาสูกับพาลีแลว ลอหลอกใหมาหาพระองค พระรามแผลงศรฆาพาลีตาย สุครีพไดครองเมืองขีดขิน แลวนำองคตและชมพูพานลูกของพาลีถวายตัวเปนทหารของพระราม พระรามเสด็ จ ไปประทั บ ที่ เขาคั น ธมาทน ระหว า งทางพบพญานกยู ง ทอง กราบทูลวานางสีดาฝากความใหพระรามเสด็จไปทำสงครามผลาญยักษ พระนางจะ ครองกายครองชีวิตรอคอยพระราม พระรามยังพบฝูงวานรนำผาสไบของนางสีดามา ถวาย พรอมชี้ทางใหพระรามตามไปฆายักษ พระรามและพระลักษมณลาพรตที่เขา คันธมาทนแหงนีเ้ พือ่ ยกทัพวานรไปปราบยักษ พระอิศวรมีพระบัญชาใหพระเวสสุกรรม นำเครื่ อ งภู ษ าผ า ทรงมงกุ ฎ สั ง วาลธำมรงค ม าถวายสองพระองค พร อ มเนรมิ ต พลับพลาไวให พระรามไดสุครีพ หนุมาน องคต ชมพูพาน ทาวมหาชมพู และนิลพัทผูเปน หลาน มาเปนทหารเอก พรอมวานรสิบแปดมงกุฎ และไพรพลวานรจากเมืองขีดขิน

22

นามานุกรมรามเกียรติ์

๕๐ สมุทร และเมืองชมพูอีก ๒๗ สมุทร เมื่อกองทัพพรอมแลว พระรามใหหนุมาน องคต ชมพูพาน นำธำมรงคกับผาสไบไปแจงขาวแกนางสีดาที่เมืองลงกาวาพระองค เสด็จยกทัพมาชวยแลว สามทหารเอกนำกองทหารมาถึงสระโบกขรณีกลางปา พอ ยามดึกก็หลับใหลทุกตน ยักษปกหลั่นขึ้นจากสระมาจับวานรกิน ปกหลั่นโจนถีบ องคต องคตตื่นขึ้นมาสูกับปกหลั่นและเอาชนะได ปกหลั่นเลาวาเดิมเปนเทพ เมื่อเปน ชูกับนางฟาชื่อเกสรมาลา พระอินทรจึงสาปใหมาเปนยักษเฝาสระ จนกวาทหาร พระรามลูบกายจึงจะพนสาป องคตสงสารจึงลูบกาย ปกหลั่นกลับเปนเทพเหาะขึ้น สวรรคไป เมื่อหนุมานและชมพูพานตื่นก็เลาความใหฟง เมื่อสามทหารเอกเดินทางตอไป พบเมืองรางกลางปามีเพียงนางบุษมาลีอยูคน เดียว นางเลาใหหนุมานฟงวาเดิมเปนนางฟาอยูบนสวรรค แตเปนแมสื่อชักนำใหทาว ตาวันลอบรักกับนางรำพา พระอิศวรสังหารทาวตาวันแลวสาปนางลงมาอยูในเมือง มายัน ซึ่งเปนเมืองรางนานสามหมื่นป ตอเมื่อพบทหารเอกพระนารายณจึงจะพนสาป หนุมานเกี้ยวนางเปนเมียแลวสงนางขึ้นสวรรคไป เมื่อเดินทางตอไปถึงมหาสมุทร พบ นางสุวรรณมาลี ขารับใชพระอิศวรมาคอยบอกทางแกทหารพระรามทีจ่ ะไปเฝานางสีดา ที่เมืองลงกา หนุมานไดฟงก็ยินดียิ่ง นิรมิตรางกายใหญโต พาดหางขามมหาสมุทรให ไพรพลวานรเดินขามไป ตอมาพบฤษีชฎิล พระฤษีบอกวาหางจากที่นี้ไปอีก ๑๕ โยชน จะถึงเขาเหมติรัน ริมมหาสมุทร เปนทาขามไปยังเมืองลงกา ที่เขาเหมติรัน สามวานรพบนกยักษไมมีขนอาศัยอยูในถ้ำ เมื่อซักถามกันทราบวาชื่อ สัมพาทีเปน พี่ชายนกสดายุ เมื่อยังเล็กนกสดายุเห็นพระอาทิตยดวงกลมแดงฉาน คิดวาเปนผลไม จึงเหาะขึ้นไปจิกกิน สัมพาทีหามเทาไรไมฟง พระอาทิตยกริ้วโกรธ เปลงแสงแรงรอน นกสัมพาทีเหาะขึ้นไปปองกันนองไว ขนจึงหลุดหมดทั้งตัว พระอาทิตยสาปซ้ำใหไป อยูที่ถ้ำเหมติรัน และขนไมงอกขึ้นใหม จนกวาพบกองทหารพระนารายณ กองทหาร โหรองสามครั้ง จึงจะพนคำสาป ขนงอกขึ้นตามเดิม หนุมานจึงใหกองทหารโหรอง พรอมกัน นกสัมพาทีมีขนงอก บินไดตามเดิม จึงอาสาพาหนุมานขึ้นหลังบินไปชี้บอก ที่ตั้งกรุงลงกา ซึ่งเปนเกาะกลางสมุทร มีภูเขาชื่อนิลกาลาเปนหลักบอกตำแหนงที่ตั้ง เมื่อหนุมานทราบตำแหนงที่ตั้งเมืองลงกา จึงใหองคตและชมพูพานอยูดูแลกองทัพอยู ที่ถ้ำเหมติรัน แลวเหาะไปเมืองลงกาตามลำพัง ขณะหนุมานเหาะขามมหาสมุทร นางผีเสื้อสมุทรซึ่งเปนทหารหนาดานของ

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

23

ทศกัณฐเหาะขึ้นไปขัดขวาง หนุมานฆานางผีเสื้อสมุทรตาย แลวเหาะตอไปจนถึงเขา โสฬสซึ่งอยูเลยเมืองลงกาไป หนุมานเห็นอาศรมฤษีจึงแปลงรางเปนวานรนอยเขาไป ถามทาง เมื่อพระฤษีบอกทางให หนุมานขอพักคืนหนึ่งรุงเชาจึงคอยเดินทาง ตลอด ทั้ ง คื น หนุ ม านลองฤทธิ์ พ ระฤษี แ ต ก ลั บ แพ ในตอนรุ ง เช า เมื่ อ หนุ ม านไปล า งหน า พระฤษียังเสกไมเทาใหเปนปลิงเกาะที่คาง หนุมานตองขอใหพระฤษีชวย จากนั้นก็เหาะไปเมืองลงกา พบนางสีดาถูกขังอยูในสวนขวัญ นางสีดากำลังจะ ผูกคอตายเพราะเจ็บแคนที่ทศกัณฐเกี้ยวพาโดยนางไมปลงใจ และซ้ำเหลานางอสุรีที่ เฝาอยูยังดาวาซ้ำเติม หนุมานชวยชีวิตนางสีดาไวได แลวถวายแหวนกับผาสไบพรอม กราบทูลวาพระรามกำลังเสด็จมารบกับทศกัณฐและนำพระนางคืนกลับไปอยางสม พระเกียรติ หลังจากเขาเฝาแลว หนุมานแกลงทำลายสวนขวัญแหลกยับเยิน ฆาสหัส กุมาร โอรสพันองคของทศกัณฐ ทศกัณฐใหอินทรชิตไปปราบ หนุมานแกลงยอมแพ ใหอินทรชิตจับตัวได ทศกัณฐสั่งใหประหารหนุมานดวยวิธีการตางๆ แตไมสำเร็จ จึง ใหนำตัวเขาเฝาซักถาม หนุมานหลอกวาตายไดดวยการจุดไฟเผา ทศกัณฐดีใจสั่งให เผาหนุมาน หนุมานจึงเผนโผนเขาตำหนัก เผาเมืองลงกาไหมทั้งเมือง แลวสลัดไฟให หลุดจากรางของตนเอง แตเหลือไฟที่ปลายหางไมยอมดับ หนุมานจึงเหาะไปเฝาพระ นารทฤษีถามวิธีดับไฟ พระฤษีใหดับดวยน้ำบอนอย หนุมานคิดไดดวยปญญาจึงอม หางตัวเองไวในปาก ก็ดับไฟได ฝายทศกัณฐใหเชิญเหลาเทพเทวามานิรมิตเมืองลงกา ใหใหม ทศกัณฐฝนราย พิเภกทำนายฝนวาเคราะหรายเปนอันตรายถึงชีวิต แตผอน ปรนไดดวยการถือมั่นในธรรมสุจริต และสงตัวนางสีดาคืนใหพระราม ทศกัณฐกริ้ว โกรธ ประกาศตัดขาดความเปนพี่นอง แลวขับไลพิเภกออกจากเมือง พิเภกเขาเฝา พระรามขอสวามิภักดิ์ พระรามใหกระทำพิธีดื่มน้ำสาบานแลวรับไวเปนที่ปรึกษาการ ทำศึก ทศกัณฐวางแผนใหพระรามยกทัพกลับไปโดยบัญชาใหเบญกายผูเปนหลาน สาวแปลงรางเปนนางสีดาทำเปนตายลอยน้ำผานหนาพลับพลาของพระราม เมื่อ พระรามเขาใจวานางสีดาสิ้นพระชนมแลว ก็จะเลิกการทำศึก ยกทัพกลับไป แผนการ ของทศกัณฐไมสำเร็จเพราะหนุมานจับได หนุมานไดนางเบญกายเปนชายา ฝายพระรามบัญชาใหเหลาทหารวานรถมทะเลเปนถนนเพื่อเดินทัพไปยังลงกา โดยใหหนุมานและนิลพัทเปนหัวหนาคุมไพรพลดำเนินการ หนุมานและนิลพัทซึ่งมี

24

นามานุกรมรามเกียรติ์

เรื่องเคืองใจกันมากอนทะเลาะกัน พระรามลงโทษใหนิลพัทไปดูแลนครขีดขิน และให หนุมานจัดการจองถนนใหสำเร็จ ทศกัณฐสงนางสุพรรณมัจฉาพาบริวารมาขนหินที่ ทำถนนไปทิ้งเสีย หนุมานจับนางสุพรรณมัจฉาไดและไดนางเปนชายาอีกตน นาง สุพรรณมัจฉามีลูกกับหนุมาน นางไปสำรอกลูกชายไวที่ชายหาด ลูกของนางเปนลิง เผือก มีหางเปนปลา วัย ๑๖ ป เหลาเทพเทวาตั้งชื่อวามัจฉานุ นางทิ้งลูกชายไว ตอมาพญาไมยราพเจาบาดาลนำไปเลี้ยงเปนลูกบุญธรรม ฝายพระรามยกทัพขามมหาสมุทรไปตั้งทัพที่เขามรกต แลวสงองคตเปนทูตไป ถวายสาสนแกทศกัณฐใหคืนนางสีดา ทศกัณฐกลับพูดจาทาทายใหรบกัน ทศกัณฐ ยกฉัตรแกวสุรกานตของทาวธาดาพรหม ทำใหบังแสงพระอาทิตยจนมืดมิด ฝาย พระรามมองไม เ ห็ น เมื อ งลงกา แต ฝ า ยทศกั ณ ฐ ม องเห็ น กองทั พ พระราม สุ ค รี พ อาสาทำลายฉัตรพังพินาศ แลวสูรบกับทศกัณฐ เอาเทาคีบมงกุฎทศกัณฐไปถวาย พระราม ทศกัณฐเปนทุกขเสียพระทัยอยางยิ่งที่ศัตรูมีฤทธาอำนาจ จึงใหตามทาว ไมยราพซึ่งเปนสหายรักมาชวย ไมยราพสะกดกองทัพวานรหลับใหลทุกตนแลวอุม พระรามลงไปไวในเมืองบาดาล หนุมานตามไปชวยได ฆาไมยราพตาย หนุมานไดพบ มัจฉานุผูเปนบุตร พระรามยกทัพขามมหาสมุทรสูกรุงลงกา

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

25

กุมภกรรณแปลงกายทดน้ำกองทัพพระราม

ทศกัณฐเสียพระทัยอยางยิ่งที่ไมยราพสิ้นชีวิต จากนั้นใหตามกุมภกรรณผูเปน นองมาชวยรบ กุมภกรรณเปนยักษที่อยูในศีลในธรรม แตจำเปนตองชวยพี่ชาย พระรามใหสุครีพออกไปสูรบ กุมภกรรณจับตัวสุครีพได หนุมานตามไปชวยแกไข กุมภกรรณสูสองวานรไมไดจึงหนีเขาเมือง กุมภกรรณขึ้นไปขอหอกโมกขศักดิ์จาก พระพรหมลงมาสูรบ แลวไปทำพิธีลับหอกที่ริมฝงมหานทีสีทันดร หนุมานกับองคต แปลงรางเปนกาจิกสุนัขเนาลอยน้ำมาใกล ทำใหกุมภกรรณซึ่งรักความสะอาดอยาง ยิง่ ตองเลิกพิธลี บั หอกโมกขศักดิ์ เมือ่ ออกรบ พระรามสงพระลักษมณไปรบ พระลักษมณ ถูกหอกโมกขศักดิ์ซึ่งหากไมสามารถชวยไดทันกอนพระอาทิตยขึ้น จะตองสิ้นชีวิต หนุมานเหาะขึ้นไปยุดรถพระอาทิตยไว พระอาทิตยจึงชักรถทรงเขากลีบเมฆ ไมให แสงอาทิตยสอ งไปยังพระลักษมณ แลวหนุมานรีบไปเก็บใบสรรพยาบนยอดเขา จากนัน้ ไปขอน้ำปญจมหานทีจากพระพรตทีเ่ มืองอยุธยา พิเภกประกอบยาแกไขใหพระลักษมณ รอดชีวิต กุมภกรรณจึงใชกลศึกเนรมิตกายกั้นน้ำไว ทำใหกองทัพของพระรามไมมี น้ำกินน้ำใช ภายในเจ็ดวันจะตองตายสิ้น หนุมานแปลงรางไปสืบจนรูวากุมภกรรณ ซอนตัวทดน้ำอยูที่ใด แลวตามไปทำลายพิธี กุมภกรรณยกทัพออกมาสูอีกครั้ง คราวนี้ พระรามเสด็ จ ไปรบด ว ยพระองค เ อง พระรามจึ ง แผลงศรสั ง หารกุ ม ภกรรณได

26

นามานุกรมรามเกียรติ์

ทศกัณฐเศราโศกเสียพระทัยอยางยิ่งที่สูญเสียอนุชาไป ทศกั ณ ฐ ใ ห อิ น ทรชิ ต ผู เ ป น โอรสออกรบกั บ ฝ า ยพระราม พระลั ก ษมณ ย ก กองทัพวานรไปสู อินทรชิตสูไมได ถอยทัพเขาเมืองแลวไปทำพิธีชุบศรนาคบาศบน ยอดเขาอากาศคีรีเปนเวลา ๗ วัน ทศกัณฐจึงใหมังกรกัณฐซึ่งเปนหลานออกรบขัดตา ทัพไปกอน พระรามปราบมังกรกัณฐได พิเภกกราบทูลพระรามวาอินทรชิตทำพิธี ชุบศรนาคบาศอยูในโพรงไมโรทันที่เขาอากาศคีรี นาคจะพากันมาคายพิษรดศรทุก เวลา หากครบ ๗ ราตรี ศรนาคบาศจะมีฤทธิ์อำนาจจนไมอาจปราบได วิธีทำลายพิธี คื อ ให ห มี กั ด ไม โรทั น ทำให น าคตกใจหนี ไ ป ชามพู ว ราชอาสาแปลงร า งเป น หมี ไ ป ทำลายพิธี อินทรชิตจึงชุบศรนาคบาศไมสำเร็จ อินทรชิตยกทัพออกมารบดวยความ โกรธแคน แผลงศรนาคบาศเปนนาครัดพระลักษมณและไพรพลวานรสิ้นสติหมดสิ้น พระรามมาชวยโดยแผลงศรพลายวาตไปเรียกพญาครุฑ เมื่อพญาครุฑเหาะมา เหลา นาคกลัว พากันคลายรัด แทรกหนีลงไปในดิน พระลักษมณและเหลาวานรจึงฟนคืน สติ เมื่ อ ทศกั ณ ฐ แ ละอิ น ทรชิ ต ทราบเรื่ อ ง อิ น ทรชิ ต ลาพระบิ ด าไปทำพิ ธี ชุ บ ศรพรหมาสตรเปนเวลา ๓ วัน หามผูใดไปรบกวน ทศกัณฐใหกำปนทหารเอกออกไป รบขัดตาทัพ กำปนถูกหนุมานฆาตาย ทศกัณฐตกพระทัยสงคนไปตามอินทรชิตโดย ลืมความที่อินทรชิตสั่งไว ทำใหเสียพิธี อินทรชิตแปลงรางเปนพระอินทรยกไปรบกับ พระลั ก ษมณ พระลั ก ษมณ ต กตะลึ ง ชมโฉมพระอิ น ทร อิ น ทรชิ ต จึ ง แผลงศรถู ก พระลักษมณและพลวานร หนุมานเหาะขึ้นไปสูกับอินทรชิต ก็ถูกหวดดวยศรตกลง มาสลบ พระรามเสด็จไปหาพระ พระลักษมณทำลายพิธีกุมภนิยา อนุชากลางสนามรบ เมื่อเห็นพระ ลั ก ษมณ สิ้ น สมประดี พระองค ก็เสียพระทัยจนสลบไป ทศกัณฐ ไดขาววาทั้งพระราม พระลักษมณ และไพรพลวานรสิ้นชีวิตหมด ก็ ดีพระทัยอยางยิ่ง ใหนางสีดาและ นางตรีชฎาชายาของพิเภกพาขึ้น บุษบกแกวไปดูเหตุการณดวยตา ของนางเอง นางสีดาเขาพระทัย

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

27

วาพระรามสิ้นพระชนม จึงรองไหจนสิ้นสติไป นางตรีชฎาปลุกใหฟนแลวกราบทูล ยืนยันวาพระรามไมสิ้นพระชนมแนนอน เพราะบุษบกแกวนี้เปนที่เสี่ยงทาย หากผูใด เปนหญิงหมายขึ้นประทับ บุษบกจะไมลอยขึ้น นางสีดาจึงขึ้นบุษบกแลวอธิษฐาน เสี่ยงทาย เมื่อพิเภกทราบขาวไดบอกวิธีแกไขพิษศรพรหมาสตร โดยหนุมานไปเอายาที่ เขาอาวุธซึ่งมีจักรกรดพัดหมุนอยูตลอดเวลา หนุมานแบกภูเขาอาวุธไปทางทิศอุดร ลมพัดเอากลิ่นยาไปตองพระราม พระลักษมณและพลวานร จึงฟนคืนสติกันทุกคน เมื่อทศกัณฐและอินทรชิตทราบขาวก็ตกพระทัย อินทรชิตขอไปทำพิธีกุมภนิยาที่ภูเขา จักรวาลภายใน ๗ วันเพื่อใหรางกายเปนกายสิทธิ์ ฆาไมตาย ในระหวางนี้ใหทศกัณฐ สั่งใหสุขาจารแปลงรางเปนนางสีดา นำขึ้นรถไปถึงกองทัพพระราม แลวตัดศีรษะโยน ลงไป เมื่อพระรามเขาใจวานางสีดาสิ้นพระชนมก็จะยกทัพกลับ ทศกัณฐทำตาม แผนการของอินทรชิต พระรามพระลักษมณหลงเชื่อวานางสีดาสิ้นชีวิต แตสุครีพ หนุมานและองคตพิสูจนไดวาเปนนางสีดาแปลง พิเภกเล็งเห็นวาอินทรชิตชะตา ถึงฆาต จึงกราบทูลใหพระลักษมณไปทำลายพิธีกุมภนิยาของอินทรชิต พระลักษมณ ตอสูกับอินทรชิตเปนเวลานาน ในที่สุดฆาอินทรชิตตายไดสำเร็จ พระลักษมณบัญชา ให อ งคตเหาะขึ้ น ไปขอพานแว น ฟ า จากพระพรหมธาดามารองรั บ เศี ย รอิ น ทรชิ ต เพราะอินทรชิตไดรับพรจากพระพรหมวาหากสิ้นชีวิต เศียรตกถึงพื้นดิน จะเกิด ไฟบรรลัยกัลปไหมไปทั่วจักรวาล เมื่ออินทรชิตสิ้นชีวิต ทศกัณฐเสียพระทัยจนสั่งประหารนางสีดา แตมีผูทูล ทัดทานไว หลังเผาศพอินทรชิต ทศกัณฐออกรบกับพระราม จนสิ้นวันยังไมสามารถ เอาชนะกันได จึงเลิกทัพกลับเมือง สหัสเดชะและมูลพลัมสองพี่นองผูเปนสหายรัก ของทศกัณฐยกทัพมาชวยรบ มูลพลัมถูกพระลักษมณฆาตาย สวนสหัสเดชะไดรับพร จากพระพรหมใหไพรพลคูตอสูขยาดกลัวหนีไป พิเภกแนะนำใหหนุมานปลอมตัวเปน ลิงนอยไปสวามิภักดิ์ตอสหัสเดชะแลวลอลวงเอาคทาเพชรอาวุธคูมือมาได หนุมานจับ สหัสเดชะมัดประจานแลวฆาใหตาย ทศกัณฐใหตามแสงอาทิตยลูกพญาขรมาชวยรบ แสงอาทิตยมีแวนแกวเปนอาวุธ ฝากไวกับพระอินทร องคตอาสาปลอมตัวเปนแสง อาทิตยไปขอรับแวนแกวมาได แสงอาทิตยจึงถูกพระรามฆาตาย ทศกัณฐออกรบกับ พระราม แตพายแพตองยกทัพกลับ ทศกัณฐใหตามทาวสัตลุงและตรีเมฆมาชวยรบ

28

นามานุกรมรามเกียรติ์

พิธีชุบหอกกบิลพัทและปนรูปเทวดาทิ้งกองเพลิง

สุครีพและหนุมานเขาตอสู แตไมอาจเอาชนะได ไพรพลวานรตายสิ้น พระรามและ พระลักษมณจึงแผลงศรฆาทาวสัตลุงและชุบชีวิตพลวานร พญาตรีเมฆแทรกหนีลงไป ใต บ าดาล หนุ ม านตามไปประหารได ทศกั ณ ฐ จึ ง ทำพิ ธี อุ ม งค เ พื่ อ ชุ บ ร า งให เ ป น กายสิทธิ์ฆาไมตาย สุครีพนิลนนทและหนุมานไปทำลายพิธีโดยนำน้ำลางเทานาง เบญกายไปรดที่แผนหินปดปากอุโมงค แลวนำนางมณโฑมาลวนลาม ทำใหทศกัณฐ ตบะแตก ประกอบพิธีไมสำเร็จ ทศกัณฐใหตามทาวสัทธาสูรและวิรุญจำบังมาชวยรบ หนุมานฆาทาวสัทธาสูรตาย สวนวิรุญจำบังเสกผาพยนตเปนยักษจำแลง สวนตนเอง หนี ไ ปซ อ นตั ว โดยแปลงเป น ตั ว ไรซ อ นอยู ใ นฟองสมุ ท รในทะเลสี ทั น ดร หนุ ม าน ตามพบโดยนางวานรินบอกทางให จึงฆาวิรุญจำบังตายได ทศกัณฐไปทูลเชิญทาวมาลีวราชผูเปนลุงมาชวย เพราะเปนผูมีวาจาสิทธิ์ หาก สาปแชงพระรามพระลักษมณ ทั้งสองก็ไมสามารถเอาชนะได แตทาวมาลีวราช มีความเที่ยงธรรมจึงใหทูลเชิญพระราม พระลักษมณ นางสีดา และทศกัณฐ มา พิจารณาความพรอมกันกลางสนามรบ แลวตัดสินใหทศกัณฐคืนนางสีดาไป ทศกัณฐ ไม ย อมและโกรธที่ ท า วมาลี ว ราชไม ย อมเข า ข า งตน ทศกั ณ ฐ ท ำพิ ธี ป ลุ ก เสกหอก

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

29

นางมณโฑอาสาทำพิธีสัญชัยหุงน้ำทิพย

กบิลพัททีห่ าดทรายกรด ปน รูปเทวดาทิง้ ในกองเพลิง หากทำพิธคี รบ ๓ วัน หอกกบิลพัท จะสังหารเทวดาไดทุกองครวมทั้งพระอินทร พระอิศวรจึงทรงบัญชาใหพาลีเทพบุตร ทำลายพิธี ทศกัณฐยกทัพออกมารบ พระลักษมณถูกหอกกบิลพัท พระรามแผลงศร ไปชวยเหลือ หนุมานไปนำยาสังกรณีตรีชวาจากภูเขาสัญชีพสัญญี มูลโคพระอินทร จากถ้ำอินทกาล นำหินบดยามาจากพญานาคใตบาดาล และลูกหินซึ่งทศกัณฐใชหนุน นอน มาประกอบยาแกฤทธิ์หอกกบิลพัท ชวยชีวิตพระลักษมณได นอกจากนี้ ในขณะ ที่ไปนำลูกหินบดยา หนุมานรายมนตรสะกดผูกผมทศกัณฐกับนางมณโฑไวดวยกัน ผมจะหลุดจากกันไดก็ตอเมื่อนางมณโฑตบเศียรทศกัณฐ ๓ ที ทศกัณฐจึงไดรับความ อับอายและกริ้วโกรธพิเภกมากที่บอกความลับทุกอยางแกศัตรู ทศกัณฐเชิญทาวทัพนาสูร พี่รวมบิดามาชวยรบ ทัพนาสูรเนรมิตตนใหญเทาเขาจักรวาล แทรกพื้นพสุธา ลงไป เหลือแตศีรษะ อาปากแลบลิ้นบังดวงอาทิตย แลวเอาสองมือโอบลอมกองทัพ วานรเขาปากกิน ถูกสุครีพตัดแขนขาด แลวพระรามแผลงศรสังหารพรอมตัดไสพุงให วานรที่ถูกกินออกมา พระอินทรพรมน้ำทิพยใหเหลาวานรคืนชีวิต ตอมานางมณโฑ ชวยสวามีโดยการทำพิธีสัญชีพ ทำใหเกิดน้ำทิพย เมื่อรดศพของทหารยักษจะกลับคืน

30

นามานุกรมรามเกียรติ์

ชีวิตดังเดิม ฝายทศคีรีวันและทศคีรีธร ลูกของทศกัณฐเกิดจากนางชาง ตอมาทาวอัศกรรณมาราสูรขอไปเลีย้ ง เมือ่ ทราบขาววาทศกัณฐทำศึก จึงยกทัพมาชวย พระลักษมณ ฆาตายทั้งสองตน พอดีนางมณโฑทำน้ำทิพยสำเร็จสงมาถวาย ทศกัณฐพรมน้ำทิพยใน สนามรบ ทำใหญาติพี่นองเพื่อนฝูงรวมทั้งไพรพลยักษที่สิ้นชีวิตไปแลว กลับคืนชีวิต มาใหมเปนปศาจ ทศกัณฐดีพระทัยสั่งกองทัพรุกรบหนุนเนื่องไมขาดสาย หากตายก็ พรมน้ำทิพยใหฟนใหม ฝายพระรามสงสัยวาเหตุใดกองทัพทศกัณฐกลับมีไพรพลมาก ขึ้น เมื่อพิเภกกราบทูลใหทรงทราบ พระรามสงหนุมานมาทำลายพิธีสัญชีพสำเร็จ ตอ มาพระรามทำศึกกับทศกัณฐ แผลงศรตัดแขนตัดขาตัดเศียรทศกัณฐได แตทศกัณฐก็ ไมสิ้นชีวิต เศียรและแขนขากลับตอติดตามเดิม พิเภกกราบทูลวาทศกัณฐทำพิธีถอด ดวงใจ ใสแทงแกวฝากพระฤษีโคบุตรใหรักษา หนุมานพรอมองคตอาสาไปขโมยแทง ศิลาแกวใสดวงใจทศกัณฐมาได หนุมานใหองคตรักษาแทงศิลาไวและเหาะไปรออยู บนทองฟา สวนตนเองลวงพระฤษีใหพาไปสมัครเปนขารับใชทศกัณฐ ทศกัณฐหลง เชื่อจนถึงกับรับไวเปนโอรสและใหเปนแมทัพยกไปรบกับฝายพระราม หนุมานอาสา รบเพียงตนเดียว ไดหวดซายปายขวาทหารวานรหนีไปจนหมด แลวพูดจาทาทาย พระลักษมณกอนยกทัพเขาเมือง ทศกัณฐทราบเรื่องยิ่งตายใจวาหนุมานเปนพวกตน รุงขึ้นพระรามยกทัพมารบดวยพระองคเพราะทราบวาหนุมานทำอุบาย หนุมานอาสา ออกรบและชั ก ชวนให ท ศกั ณ ฐ เ สด็ จ ไปเป น ประธานในกองทั พ เมื่ อ ถึ ง สนามรบ หนุมานเหาะขึ้นไปพบองคตแลวนำแทงศิลาแกวบรรจุดวงจิตทศกัณฐถวายพระราม แลวนัดแนะพระองคใหเสด็จไปรบ เมื่อพระรามแผลงศรพรหมาสตรสังหารทศกัณฐ หนุมานจะบีบดวงจิตใหทศกัณฐสิ้นชีวิต เมื่อทศกัณฐรูตัววาพายแพ ขอกลับไปล่ำลา นางมณโฑและบานเมือง รุงขึ้นทศกัณฐยกทัพมารบดวยขัตติยมานะ และสิ้นชีวิต ดวยศรพระราม พระอินทรใหนางอัปสรนำเครื่องมูรธาภิเษกสำหรับสระสนานและเครื่องทรง มาใหนางสีดา นางขึ้นบุษบกแกวไปเฝาพระรามพรอมเหลานางใน นางสีดาขอลุยไฟ พิสูจนความบริสุทธิ์ของนางวามิไดแปดเปอนราคีขณะอยูในเมืองยักษ ดวยความสัตย ซื่อตรงของนาง ทำใหเกิดดอกบัวรองรับทุกยางกาว พระรามมีพระราชโองการใหพิเภกครองเมืองลงกา พิเภกทำพิธีปลงพระศพ

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

31

ทศกัณฐอยางสมพระเกียรติ และรับเสด็จพระราม พระลักษมณ นางสีดา เขาประทับ ที่เมืองลงกา พระรามเสด็จกลับอยุธยาเพราะใกลครบ ๑๔ ป หากพระองคไมเสด็จกลับ พระพรตและพระสัตรุดจะฆาตัวตายในกองไฟ เมื่อเสด็จขามมหาสมุทรแลว พระราม แผลงศรทำลายถนนที่จองขามมา จากนั้นเดินทางเขาปา กลาวถึงบรรลัยกัลป โอรสทศกัณฐกับนางกาลอัคคี พญานาคขอไปเลี้ยงเปน ลูกตั้งแตอายุ ๕ ป เกิดฝนรายจึงขอลาพญานาคไปเยี่ยมทศกัณฐ เมื่อทราบขาวจาก มารดา ไดติดตามกองทัพพระรามไป พระรามใหหนุมานไปขัดขวาง หนุมานแปลงราง เปนมหิงสาติดหลมดักทางไว ไดตอสูกับบรรลัยกัลปแตจับตัวไมได ลื่นหลุดทุกครั้ง เพราะอาบวานยาไว หนุมานเหาะไปถามพระฤษีทิศไพถึงวิธีแกไข พระฤษีแสดงอุบาย หนุมานเขาใจ เหาะกลับไปตอสูโ ดยเอาฝุน ทรายซัดตองกายจึงจับตัวและฆาบรรลัยกัลป ตายได พระรามเดินทางถึงอยุธยา ทำพิธีราชาภิเษกและพระราชทานบรรดาศักดิ์ และรางวัลแกเหลาทหารวานร พระรามตั้งหนุมานเปนพญาอนุชิตและพระราชทาน เมืองอยุธยาใหครึ่งหนึ่งตามที่สัญญา แตพญาอนุชิตไมมีความสุขเลย พระรามจึงสราง เมืองใหใหม ฝายทาวมหาบาล สหายรักของทศกัณฐยกทัพมาลงกา เมื่อรูขาววาทศกัณฐสิ้น ชีวิตและพิเภกไดครองเมืองพระนามวาทาวทศคีรีวงศ จึงตองการทำศึก พระรามสง หนุมานมาชวยรบ หลังกลับไปครองเมืองนพบุรีไมนาน หนุมานสละเมือง ออกไป บำเพ็ญพรตโดยทำพิธีแปลงเพศเปนมนุษยกอน ฝายนางมณโฑคลอดโอรสที่เกิดแตทศกัณฐ ทาวทศคีรีวงศเขาใจวาเปนลูกของ ตน ตั้งชื่อวาไพนาสุริยวงศ ขณะเดียวกันนางเบญกายก็มีโอรสเกิดแตหนุมาน ไดชื่อวา อสุรผัด เมื่อไพนาสุริยวงศเติบโตขึ้น รูความจริง ไดชักชวนพี่เลี้ยงหนีไปกราบทูลทาว จักรวรรดิ เมืองมลิวัน ซึ่งเปนสหายของทศกัณฐใหมาแกแคนใหบิดา ทาวจักรวรรดิยก ทัพมารบ จับตัวทาวทศคีรีวงศได ใหไพนาสุริยวงศครองเมืองพระนามวาทาวทศพิน อสุรผัดเดินทางไปตามหาพญาอนุชิตผูเปนบิดาเพื่อบอกใหรูวาทาวจักรวรรดิยึดเมือง ลงกาได พญาอนุชติ จึงลาพรตแลวไปกราบทูลพระราม พระรามใหพระพรต พระสัตรุด เปนแมทัพยกไปตีเมืองลงกาคืนได และยกไปตีเมืองมลิวันของทาวจักรวรรดิ ศึกทาว จักรวรรดิจะคลายคลึงกับศึกทศกัณฐทกุ อยาง ในทีส่ ดุ ทาวจักรวรรดิกพ็ า ยแพ พระราม

32

นามานุกรมรามเกียรติ์

พิธีอภิเษกสมรสระหวางพระรามกับนางสีดา

พระราชทานรางวัลใหทหารวานรครองเมือง วันหนึ่งเมื่อพระรามพระลักษมณเสด็จประพาสปา นางอดูลตองการแกแคนที่ พระรามฆาทศกัณฐ ไดหลอกใหนางสีดาวาดรูปทศกัณฐใหชม แลวเขาไปสิงในรูปนั้น ทำให ล บรู ป ไม ไ ด เมื่ อ พระรามพบรู ป ทศกั ณ ฐ ใ นห อ งบรรทม จึ ง กริ้ ว โกรธสั่ ง ให พระลักษมณประหารนางสีดา พระลักษมณไมอาจสังหารได จึงปลอยนางเขาปาไป แลวฆากวางเอาดวงใจไปถวายพระราม นางสีดาไปอาศัยอยูกับฤษีวาลมีกิ และคลอด โอรสในปา คือ พระมงกุฎ วันหนึ่งพระฤษีคิดวาพระมงกุฎหายไปจึงวาดรูปกุมารขึ้น ใหม เมื่อนางสีดาพาพระมงกุฎกลับมา พระฤษีจะลบรูปทิ้ง นางสีดาจึงขอใหพระฤษี ชุบใหเปนคนตามความตั้งใจเดิม แลวเลี้ยงเปนลูก ใหชื่อวาพระลบ วันหนึ่งพระมงกุฎ และพระลบลองฤทธิ์ศรที่พระฤษีมอบให เกิดเสียงกองกัมปนาทไปถึงอยุธยา พระราม ใหพระพรต พระสัตรุด และหนุมาน ยกทัพมาปราบ จับพระมงกุฎไดนำตัวไปถวาย พระราม พระลบตามไปชวยพี่ชายหลุดพนได พระรามตามไป เมื่อรบกันจึงทราบวา เปนพระโอรส พระรามจึงตามไปขอโทษนางสีดาและเชิญเขาเมือง นางสีดาปฏิเสธ พระรามทำอุบายลวงวาสิ้นพระชนม นางสีดาจึงยอมเสด็จมาปลงพระศพ แตเมื่อ

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

33

ทราบความจริงก็กริ้ว หนีลงไปยังเมืองบาดาล พระรามใหเชิญพิเภกมาสอบถามวาจะ แกไขอยางไร พิเภกกราบทูลใหพระรามเดินปาเพื่อสะเดาะเคราะหเปนเวลา ๑ ป ระหวางเดินปาทรงทำศึกกับพญายักษหลายตน เมื่อครบปพระรามเสด็จกลับอยุธยา พระอิศวรชวยไกลเกลี่ยใหนางสีดายอมคืนดีกับพระราม แลวทรงจัดการอภิเษกอีก ครั้งหนึ่ง ฝายเมืองไกยเกษ ซึ่งเปนเมืองของพระอัยกาของพระราม เกิดมีพญายักษชื่อ ทาวคนธรรพนุราชกับโอรสชื่อวิรุณพัทยกทัพมายึดเมือง พระรามสั่งใหพระพรต พระสัตรุด พระมงกุฎและพระลบยกไปทำศึก พระลบฆาวิรุณพัท สวนพระมงกุฎ ฆาทาวคนธรรพนรุ าช จากนัน้ จึงทูลเชิญใหทา วไกยเกษกลับเมือง พระพรต พระสัตรุด พาพระมงกุฎและพระลบมาสงที่เมืองอยุธยา จากนั้นพระพรต พระสัตรุด และ ทาวพญาทั้งหลายแยกยายกลับเมืองของตน

34

นามานุกรมรามเกียรติ์

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

35

ความสำคัญของรามเกียรติ์ในสังคมไทย บทละครเรื่องรามเกียรติ์เปนวรรณคดีชิ้นเอกของไทย แมจะไดเคาเรื่องจาก มหากาพยรามายณะของอินเดียและเรื่องรามายณะของประเทศเพื่อนบาน แตกวีไทย ก็ไดสรางสรรคเรื่องรามเกียรติ์ขึ้นมาใหมดวยขนบทางวรรณศิลปและวิถีชีวิตไทย รามเกียรติ์จึงแสดงความเชื่อ คานิยมและอุดมคติของสังคมไทยอันสืบทอดตอเนื่องมา จนถึงปจจุบันดวย ไดแก ความจงรักภักดี ความออนนอมถอมตน การเคารพผูใหญ การยึดมั่นในสัจจะ ความกตัญู และความกลาหาญ เปนตน คนไทยรูจักเรื่องรามเกียรติ์มาตั้งแตสมัยสุโขทัยหรือกอนหนานั้น ดังปรากฏชื่อ ถ้ำพระรามในศิลาจารึกหลักที่ ๑ และพระนามของพอขุนรามคำแหงมหาราช กษัตริย สุโขทัย ในสมัยอยุธยากวีไทยรจนารามเกียรติ์ในรูปของวรรณกรรมการแสดง ไดแก บทละครและบทโขน ซึ่ ง มี เ ป น ตอนๆ ไม ต อ เนื่ อ งกั น และไม ค รบถ ว น ในสมั ย รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ทรงโปรดเกลาฯ ใหกวีในราชสำนักรวบรวมซอมเสริมบท ละครเรื่องรามเกียรติ์จนครบสมบูรณ เปนตนฉบับสำหรับเรื่องรามเกียรติ์ที่แตงใน สมัยตอมา รามเกียรติ์เปนวรรณคดีท่ีแสดงอานุภาพยิ่งใหญของสถาบันกษัตริยตามคติ ความเชื่อวาพระมหากษัตริยคือสมมติเทพผูอวตารลงมาปราบทุกขเข็ญ นอกจาก ความศักดิ์สิทธิ์ของเทวกษัตริยแลว ยังเนนความมีคุณธรรมและเมตตาธรรม ราม เกียรติ์เปนบทละครใน ซึ่งหมายถึงละครของพระเจาแผนดิน พระมหากษัตริยทรง สรางสรรคและอุปถัมภวรรณคดีเรื่องนี้อยางตอเนื่องทั้งในรูปของวรรณศิลปและ ศิลปะประเภทอื่น รามเกียรติ์จึงเปนเรื่องสูงสงและศักดิ์สิทธิ์ และเปนเรื่องที่สงเสริม สถาบันกษัตริยใหมั่นคง นอกจากนี้ รามเกียรติ์ยังแสดงอุดมคติสูงสุดของสังคม คือธรรมตองชนะ อธรรม อันจะทำใหเกิดสันติสุขแกโลก พระราม พระลักษมณและพลวานรจึงทำ สงครามสังหารยักษรายครั้งแลวครั้งเลาเพื่อขจัดความชั่วรายไปจากโลก การเอาชนะ ศึกแตละครั้งไมใชเรื่องงาย เพราะยักษแตละตนมีฤทธิ์มาก ฝายพระรามตองทำลาย กลศึกของศัตรูหลายครั้ง บางครั้งเปนฝายเพลี่ยงพล้ำตองหาทางแกไข แมจะสังหาร

36

นามานุกรมรามเกียรติ์

ทศกัณฐไดแลว พระอนุชาและพระโอรสของพระรามก็ยังตองทำศึกปราบยักษรายอีก หลายครั้ง แตในที่สุดก็สามารถทำลายเผาพงศยักษาไดราบคาบ แสดงใหเห็นวาความ ชั่วรายเกิดขึ้นอยูเสมอ คนดีมีพันธกิจในการทำลายลางความชั่วรายเหลานั้นอยูตลอด เวลา ดังนั้น อาจพิจารณาไดวาพระรามเปนสัญลักษณของความดีงามตามอุดมคติ พระรามเปนคนดีสมบูรณแบบ เปนลูกที่ดี พี่ที่ดี สามีที่ดี พอที่ดี และนายที่ดี แมจะ ควบคุมอารมณไมไดในบางครั้งก็เปนไปตามลักษณะปุถุชน ในขณะที่ทศกัณฐเปน สัญลักษณของความชั่ว มีกิเลสตัณหา หลงผิด ไมฟงผูทัดทาน สวนหนุมานเปน สัญลักษณของสติปญญาและพลังความสามารถของมนุษย เปนตน อิทธิพลของเรื่องรามเกียรติ์ในสังคมไทย แมวาเรื่องรามเกียรติ์จะไมไดมีความสำคัญตอคนไทยเชนที่มีความสำคัญตอ คนอิ น เดี ย ในด า นที่ เ ป น เรื่ อ งราวประวั ติ ศ าสตร ก ารสู ร บระหว า งพวกอารยั น กั บ พวกทราวิฑ และในดานที่เปนคัมภีรศาสนา เปนบทสวดสรรเสริญพระเกียรติคุณของ พระนารายณที่อวตารลงมาเปนพระรามเพื่อปราบอธรรม แตคนไทยก็ใหความสำคัญ แกวรรณคดีเรื่องนี้อยางยิ่ง เรื่องรามเกียรติ์จึงมีอิทธิพลแทรกซึมอยูในวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมไทยตลอดมา รามเกียรติ์เปนมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมไทย เพราะคนไทยมิไดรูจักเรื่อง รามเกียรติ์จากวรรณคดีเทานั้น หากแตซึมซับเรื่องรามเกียรติ์ดวยศิลปะ ภาษา และ การแสดงในรูปแบบตางๆ อีกดวย รามเกียรติ์จึง แทรกซึมอยูในวิถีชีวิตไทยตลอดมา ในดานนาฏศิลปการแสดง มีการเลนโขน หนังใหญ และหุน ซึ่งมีทั้งหุนหลวง หุนเล็ก หุน กระบอก (ของอาจารยจักรพันธุ โปษยกฤต) และ หุนละครเล็ก (คณะโจหลุยส) และการแสดงละคร เรื่องรามเกียรติ์ ดังมีบทวรรณคดีการแสดงหลาย สำนวนในการแสดงละคร เรื่ อ งรามเกี ย รติ์ จ ะ แสดงเปนละครในเทานั้น ในการแสดงโขนซึ่งถือ เปนนาฏศิลปชั้นสูง จะแสดงเรื่องรามเกียรติ์เพียง

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

37

เรื่องเดียวและจะแสดงในโอกาสสำคัญ ในดานทัศนศิลป เรื่องรามเกียรติ์เปนแรงบันดาลใจใหเกิดการสรางสรรค จิตรกรรมและประติมากรรม มีภาพวาด และภาพปนเกี่ยวกับเรื่องรามเกียรติ์ โดย เฉพาะอยางยิ่งภาพจิตรกรรมฝาผนังรอบพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่ง เขี ย นขึ้ น ตั้ ง แต รั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลก และได รั บ การ บูรณปฏิสงั ขรณเมือ่ ฉลองกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปนประธานในโครงการบูรณะครั้งนี้ นอกจากนี้ยังเปน แรงบันดาลใจแกงานสรางสรรคงานประณีตศิลป ไดแก หัวโขน เครื่องแตงกาย และ

38

นามานุกรมรามเกียรติ์

งานศิลปหัตถกรรมตางๆ อีกดวย ในดานคติชนวิทยา มีนิทานชาวบานที่เลาขานมาพรอมกับภูมิศาสตรที่เกี่ยว เนื่องกับเรื่องรามเกียรติ์ในทองถิ่นชนบทของไทยหลายแหงอยางเชน นิทานเรื่องทาว กกขนาก เขาสามยอด ทะเลชุบศร ที่จังหวัดลพบุรี เขาสรรพยา ที่จังหวัดชัยนาท เขา ขาด ที่อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี หวยสุครีพ ถ้ำทรพี และถ้ำพาลี ที่จังหวัด ชลบุรี ถ้ำพาลียังมีที่จังหวัดพัทลุงและนครราชสีมาอีกดวย ในดานสำนวนภาษามีสำนวนไทยหลายสำนวนเกิดจากเรื่องราวในรามเกียรติ์ อยางเชน เหาะเกินลงกา มาจากเหตุการณตอนหนุมานจะไปเฝานางสีดาที่ลงกา แตไมรูจักทาง จึงเหาะเลยเมืองลงกาไปพบพระนารทฤษี สำนวนนี้หมายความวา ทำเกินคำสั่ง วัดรอยตีน มาจากตอนที่ทรพีคอยวัดรอยเทาตนกับรอยเทาของทรพาผูเปน พอ เมื่อเห็นวาเทากันแลวก็ไปทาสูแลวฆาทรพาตาย สำนวนนี้หมายความวา ทำตัว เทาเทียมคนที่ใหญกวา ลูกทรพี มาจากตอนทรพี - ทรพา เช น กั น สำนวนนี้ ห มายความว า ลู ก อกตัญู ศรศิลปไมกินกัน มาจากตอนที่ พระรามรบกับพระมงกุฎพระลบ ศรที่ แผลงไปจะไมทำลายลางกัน แตจะกลาย เปนดอกไมพวงมาลัยฯลฯ เพราะคูตอสู เปนพอลูกกัน แตสำนวนนี้หมายความ วา ไมถูกชะตากัน ไมลงรอยกัน ในด า นวรรณคดี พบว า วรรณคดี ท อ งถิ่ น ก็ มี ร ามเกี ย รติ์ ส ำนวนท อ งถิ่ น ใน ภูมภิ าคตางๆ ของไทย เชน พระรามชาดก และ พระลัก - พระลาม เปนเรือ่ งรามเกียรติ์ ของอีสาน หรมาน และ พรหมจักร เปนรามเกียรติ์สำนวนลานนา หรือวรรณคดี โบราณของไทยหลายเรื่อง โดยเฉพาะวรรณคดีประเภทนิราศก็มักอางถึงเรื่องราม เกียรติ์ แสดงใหเห็นวาเรื่องรามเกียรติ์ เปนที่รูจักแพรหลายอยางยิ่งในสังคมไทย อยางเชน

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพันธุ

สิบหนาอสูรชวยดู

พระรามพระลักษมณชวักอร (ลิลิตโองการแชงน้ำ)

ชยชยอำนาจทาว รอนราพลวงลงกา ชยชยดิ่งติดตาม ชยชำนะไดแกว พระคุณพระครอบฟา พระเกียรติพระไกรแผน พระฤทธิพางพระราม พระกอพระเกื้อหลา

คือราม แผนแผว มารมารค นั้นฤๅ ครอบครอง ดินขาม ผานฟา รอนราพ ไสแฮ หลากสวรรค (ลิลิตยวนพาย)

รามาธิราชใช โถกนสมุทรอายาม จองถนนเปลงศิลปศร ใครบอาจขวางหนา

พานร ยานฟา ผลาญราพณ กายกอง (กำสรวลโคลงดั้น)

ปางบุตรนคเรศไท จากสีดาเดียวลี ยังคืนสูเสาวคต ฤๅอนุชนองแคลว

ทศรถ ลาศแลว ยุพราช คลาดไกล (ทวาทศมาส)

39

รามเกียรติ์ไดรับการสืบทอดรักษาอยางตอเนื่องในวิถีชีวิตไทยตั้งแตอดีตจน ปจจุบัน จึงนับไดวาเรื่องรามเกียรติ์เปนวรรณคดีเรื่องสำคัญของไทย และมีบทบาทอยู ในวิถีชีวิตไทยอยางยิ่ง

40

นามานุกรมรามเกียรติ์

ในปจจุบันเรื่องรามเกียรติ์ถูกนำมาสรางสรรคในรูปแบบใหม เชน การตูน นิทานภาพ ภาพยนตรการตูน เพื่อดึงความสนใจของคนรุนใหม และบางครั้งมีการ ตีความเนื้อหาใหมเพื่อใหสอดคลองกับสังคมปจจุบันอีกดวย เหตุใดโขนจึงแสดงเรื่องรามเกียรติ์เทานั้น โขนเกี่ยวพันกับเรื่องรามเกียรติ์อยางใกลชิด เพราะโขนเปนนาฏศิลปที่แสดง เรื่องรามเกียรติ์เพียงเรื่องเดียว ความเกี่ยวพันระหวางโขนกับรามเกียรติ์นาจะมาจาก เหตุ ๒ ประการ คือ การเชื่อมโยงกับสถาบันกษัตริย และการสรางสรรคทางนาฏศิลป สาเหตุประการแรกเกิดจากรามเกียรติ์เปนวรรณคดีแสดงความศักดิ์สิทธิ์และ ความยิ่งใหญของสถาบันกษัตริย รามเกียรติ์จึงเปนผลงานพระราชนิพนธหรืออยูใน พระราชูปถัมภตลอดมา สวนโขนเปนศิลปะการแสดงของหลวง มีการตั้งกรมโขนมา ตั้งแตสมัยอยุธยา มหาดเล็กหลวงจะถูกนำตัวมาฝกหัดเปนโขนหลวงเพื่อแสดงใน พระราชพิธี งานสมโภช งานนักขัตฤกษตางๆ เกิดคานิยมวาผูไดรับการคัดเลือกให เล น โขน จะเป น ลู ก ผู ดี แ ละมี ค วามเฉลี ย วฉลาด แต โขนไม ไ ด เ ป น มหรสพสำหรั บ พระมหากษัตริยและเจานายชั้นสูงเทานั้น ยังเปนมหรสพสำหรับประชาชนทั่วไปดวย สวนความเกี่ยวพันระหวางโขนกับรามเกียรติ์ที่มีสาเหตุมาจากการสรางสรรค ทางนาฏศิลป เนื่องมาจากโขนตางจากการแสดงละครทั่วไป โขนถือเปนนาฏศิลปชั้น สูงของไทย เพราะแสดงศิลปะของการรำ การเตน การรอง การพากย การเจรจา เพลงและการแสดงดนตรีไทยไวอยางครบถวน รวมทั้งแสดงศิลปะเชิงชางของไทย ทั้ง ในเรื่องหัวโขนและเครื่องแตงกาย ซึ่งมีตำรากำหนดไวเปนแบบแผนชัดเจน เนื้อหาของเรื่องรามเกียรติ์ซึ่งเนนถึงความเปนเทพของฝายพระรามความโออา สงางามของกองทัพยักษและกองทัพวานร และการตอสูกันอยางสมศักดิ์ศรี จึงเอื้อตอ การแสดงความงดงามของทารำ ความเขมแข็งและความพรักพรอมของการเตน ความ วองไวของการตอสู ความอลังการของเครื่องแตงกายและฉาก ความไพเราะของดนตรี ความสงางามและเฉียบคมของบทพากยและบทเจรจา การแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ จึงทำใหมีการพัฒนาศิลปะตางๆ เหลานี้ และบูรณาการเขาดวยกันอยางเหมาะสม กลมกลืน การแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์จึงเปนมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมอันสูงคา ยิ่ง และเปนเอกลักษณแหงศิลปะการแสดงของไทย